Page 496 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 496

อัสดง


                  เอกสารอ้างอิง     สารานุกรมพืชในประเทศไทย          อ้ายเบี้ยว
                   Kurzweil, H. (2014). Orchidaceae (Calanthe). In Flora of Thailand Vol. 12(2):
                      373-375.                                       Pentaphragma begoniifolium (Roxb. ex Jack) Wall. ex G. Don
                   Seidenfaden, G. (1975). Orchid genera in Thailand I: Calanthe R.Br. Dansk   วงศ์ Pentaphragmataceae
                      Botanisk Arkiv 29(2): 15-17.
                                                                      ชื่อพ้อง Phyteuma begoniifolium Roxb. ex Jack
                                                                       ไม้ล้มลุก อวบหนา สูงได้ถึง 30 ซม. ใบเรียงเวียน รูปไข่หรือรูปขอบขนาน เบี้ยว
                                                                     ยาว 5-25 ซม. ปลายแหลม โคนเป็นติ่งกลมด้านเดียว ขอบจักฟันเลื่อย แผ่นใบ
                                                                     มีขนประปรายด้านล่าง ก้านใบยาว 1-4 ซม. ช่อดอกแบบช่อวงแถวเดี่ยว ออกที่ยอด
                                                                     1-2 ช่อ ยาว 3-5 ซม. หรือออกตามซอกใบสั้น ๆ ก้านช่อสั้นกว่าแกนช่อ ดอกเรียง
                                                                     สองแถว ไร้ก้าน ใบประดับรูปไข่กลับกว้าง บาง ยาว 5-9 มม. หลอดกลีบเลี้ยงยาว
                                                                     4-6 มม. เชื่อมติดรังไข่มีผนังกั้น 5 ช่อง ระหว่างช่องมีต่อมน�้าต้อย กลีบเลี้ยง 5 กลีบ
                                                                     ขนาดไม่เท่ากัน เรียงซ้อนเหลื่อม รูปไข่ ยาว 2-2.5 มม. ติดทน มีขนยาวประปราย
                                                                     กลีบดอกรูปไข่กลับ ยาวประมาณ 3 มม. เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดระหว่างกลีบดอก
                                                                     ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 1 มม. อับเรณูติดที่ฐาน ปลายแหลม รังไข่ใต้วงกลีบ
                  อั้ว: กล้วยไม้ดิน โคนสอบเรียวเป็นก้านใบ ช่อดอกแบบช่อกระจะ กลีบปากจักลึก 3 พู พูกลางแยก 2 แฉก กลีบปาก  มี 2 ช่อง พลาเซนตารอบแกนร่วม ออวุลจ�านวนมาก ก้านเกสรเพศเมียสั้น หนา
                มีสีเหลืองหรือแดงแต้มที่โคน (ภาพ: เขานัน นครศรีธรรมราช - NT)
                                                                     ยอดเกสรรูปทรงกระบอก ยาวประมาณ 1 มม. มีริ้วเป็นสัน 5 สัน ผลคล้ายผลสด
                อัสดง                                                มีหลายเมล็ด แห้งไม่แตก รูปรี ยาว 8-9 มม.
                Astilbe rivularis Buch.-Ham. ex D. Don                 พบที่พม่า คาบสมุทรมลายู และภาคใต้ของไทยตั้งแต่ระนองลงไป ขึ้นตาม
                วงศ์ Saxifragaceae                                   ป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 500 เมตร รากบดพอกแก้อาการบวมช�้า
                   ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 2.5 ม. มีเหง้า มีขนยาวและขนต่อมสีน�้าตาลหนาแน่น  สกุล Pentaphragma Wall. ex G. Don เป็นสกุลเดียวของวงศ์ มีประมาณ 25 ชนิด
                ตามล�าต้น เส้นแขนงใบด้านล่าง แกนใบ และช่อดอก หูใบบาง ติดที่โคนก้านใบ   พบในจีน ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และนิวกินี ในไทยมี 3 ชนิด
                ยาวได้ถึง 2 ซม. ปลายแยก 2 แฉก รูปสามเหลี่ยม ยาว 4-6 มม. ใบประกอบมี   อีก 2 ชนิดคือ P. horsfieldii (Miq.) Airy Shaw พบทางภาคใต้ตอนล่างที่นราธิวาส
                3 ใบย่อย 2-3 ชั้น เรียงเวียน ก้านใบประกอบยาว 15-40 ซม. ใบย่อยรูปไข่ รูปไข่กลับ   และ P. winitii Craib พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือที่น่าน ชื่อสกุลมาจาก
                หรือรูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด ยาว 4-14.5 ซม. ปลายแหลมยาว โคนกลมหรือเว้าตื้น   ภาษากรีก “pente” ห้า และ “phragma” แนวรั้ว ตามลักษณะวงเกสรเพศเมีย
                ขอบจัก แผ่นใบด้านบนมีขนแข็งประปราย ก้านใบย่อยไร้ก้านหรือยาวได้ถึง 2 ซม.   แยกจากฐานดอกตามรอยเว้าต่อมน้ำาต้อย 5 ต่อม เหมือนแนวรั้ว
                ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ยอด ยาวได้ถึง 40 ซม. ใบประดับ 3 อัน ยาว
                ประมาณ 2 มม. ขอบจัก ดอกสีขาวหรือสีแดง ก้านดอกยาว 1-2 มม. ใบประดับย่อย  เอกสารอ้างอิง
                ขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ รูปไข่ ยาว 1-2 มม. ส่วนใหญ่ไม่มีกลีบดอก หรือมี   Airy Shaw, H.K. (1954). Pentaphragmataceae. In Flora Malesiana Vol. 4: 525.
                1-2 กลีบ ขนาดเล็ก เกสรเพศผู้ 5-12 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 2-3 มม. อับเรณูกลม   Hong, D. and N.J. Turland. (2011). Pentaphragmataceae. In Flora of China
                                                                          Vol. 19: 564.
                มี 2 คาร์เพล เชื่อมติดกันที่โคน พลาเซนตารอบแกนร่วม ก้านเกสรเพศเมียสั้น
                กางออก ผลแห้งแตก กางออก ยาว 4-5 มม. เมล็ดขนาดเล็ก จ�านวนมาก
                   พบที่อินเดีย ภูฏาน เนปาล จีนตอนใต้ พม่า ลาว และเวียดนาม ในไทยพบทาง
                ภาคเหนือที่ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ ขึ้นตามที่โล่งชายป่าดิบเขาสูง ความสูง
                2400-2500 เมตร รากมีสรรพคุณแก้ท้องเสีย บิด และโรคไขข้อ ใบสดเคี้ยวแก้ปวดฟัน

                   สกุล Astilbe มีประมาณ 18 ชนิด พบในอเมริกาเหนือและเอเชีย ในไทยมีชนิดเดียว
                   ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “a” ไม่มี และ “stilbe” เป็นมันวาว ตามลักษณะดอกและใบ

                  เอกสารอ้างอิง
                   Larsen, K. (2002). Saxifragaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(4): 915-920.
                                                                      อ้ายเบี้ยว: ใบเรียงเวียน เบี้ยว โคนเป็นติ่งกลมด้านเดียว ช่อดอกแบบช่อวงแถวเดี่ยว ดอกเรียงสองแถว ไร้ก้าน
                   Pan, J.T. and H. Ohba. (2001). Saxifragaceae (Astilbe). In Flora of China Vol.   (ภาพ: กรุงชิง นครศรีธรรมราช - RP)
                      8: 247, 276.
                                                                     อินถวาน้อย
                                                                     Kailarsenia lineata (Craib) Tirveng.
                                                                     วงศ์ Rubiaceae
                                                                      ชื่อพ้อง Gardenia lineata Craib
                                                                       ไม้พุ่ม แตกกิ่งหนาแน่น สูงได้ถึง 2 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน เส้นแขนงใบ
                                                                     ด้านล่าง ก้านใบ หลอดกลีบดอกด้านนอก หูใบเชื่อมติดกัน ปลายจักเป็น 2 แฉก
                                                                     ใบเรียงตรงข้าม รูปรี หรือรูปขอบขนาน ยาว 3-4 ซม. ปลายแหลม โคนสอบเรียว
                                                                     เส้นแขนงใบมีข้างละประมาณ 10 เส้น ก้านใบยาวประมาณ 2 มม. ดอกออกเดี่ยว ๆ
                                                                     ออกตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ก้านดอกสั้นมาก กลีบดอกและกลีบเลี้ยงจ�านวน
                                                                     อย่างละ 5 กลีบ ฐานดอกมี 5 สัน หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 2 มม. ปลายแฉก
                                                                     รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ติดทน ดอกรูประฆัง หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 2 ซม.
                                                                     กลีบรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 1.3 ซม. เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดใต้ปากหลอดกลีบดอก
                                                                     ก้านชูอับเรณูสั้นมาก อับเรณูรูปแถบ ยื่นพ้นปากหลอดเล็กน้อย ก้านเกสรเพศเมีย
                                                                     รูปกระบอง ยื่นเลยปากหลอดเล็กน้อย ผลสด รูปรี ยาวประมาณ 2 ซม. มีสันตามยาว
                                                                     5 สัน เมล็ดจ�านวนมาก
                                                                       พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่นครพนม ขึ้นตามป่าโปร่ง
                  อัสดง: มีขนยาวและขนต่อมหนาแน่น ใบประกอบ 2-3 ชั้น มี 3 ใบย่อย ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ออกที่ยอด
                กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ ไม่มีกลีบดอก ผลแห้งแตก กางออก (ภาพ: ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่; ภาพวิสัยและช่อดอก - RP,   ที่มีน�้าท่วมในฤดูน�้าหลาก ความสูงประมาณ 200 เมตร คล้ายกับ K. hygrophila
                ภาพดอกขยาย - PK, ภาพใบประกอบและช่อผล - SSi)          (Kurz) Tirveng. และ K. godefroyana (Kuntze) Tirveng. ซึ่งทั้งสองชนิดมี

                476






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   476                                                                 3/1/16   6:33 PM
   491   492   493   494   495   496   497   498   499   500   501