Page 491 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 491

สารานุกรมพืชในประเทศไทย


                                                                        เหลืองสยาม, สกุล                    เหียง
                                                                        Lysimachia L.
                                                                        วงศ์ Primulaceae
                                                                           ไม้ล้มลุกหรือไม้พุ่ม กิ่งมักมีต่อมใสหรือมีสี ใบเรียงเวียน เรียงตรงข้าม หรือ
                                                                        เรียงรอบข้อ ดอกออกเดี่ยว ๆ ออกเป็นช่อแบบช่อแยกแขนง ช่อกระจะ ช่อซี่ร่ม
                                                                        หรือคล้ายช่อกระจุกแน่น กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 5 กลีบ กลีบเลี้ยง
                                                                        แฉกลึก ติดทน ดอกรูปกงล้อหรือรูประฆัง หลอดกลีบดอกสั้น กลีบบิดเวียนใน
                                                                        ตาดอก เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดตรงข้ามกลีบดอก แยกกันหรือเชื่อมติดกันที่โคนแนบ
                                                                        ติดหลอดกลีบดอก อับเรณูมีรูเปิดที่ปลายหรือแตกตามยาว รังไข่มีช่องเดียว
                                                                        พลาเซนตารอบแกน ยอดเกสรเพศเมียขนาดเล็ก ผลแห้งแตก กลม ๆ มีหลายเมล็ด
                                                                           สกุล Lysimachia มีประมาณ 180 ชนิด ส่วนใหญ่พบในเขตอบอุ่น ในไทยมี 14
                                                                           ชนิด ชื่อสกุลตั้งตามกษัตริย์ Lysimachion หรือ Lysimachus ของอาณาจักร
                      เหลืองปรีดียาธร: ใบรูปฝ่ามือ เรียงตรงข้าม มีใบย่อย 5-9 ใบ ใบอ่อนสีน�้าตาลเข้ม ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง   Thrace กรีกโบราณ ผู้สามารถยุติความขัดแย้งที่รุนแรงได้ หรืออาจหมายถึงพืช
                    ออกที่ปลายกิ่ง ผลแห้งแตกเป็น 2 ซีก รูปขอบขนาน ไม่มีสัน เมล็ดบาง มีปีก (ภาพ: cultivated - RP)
                                                                           บางชนิดใช้รักษากระดูกแตก
                    เหลืองพิศมร
                    Spathoglottis affinis de Vriese                     เหลืองสยาม
                    วงศ์ Orchidaceae                                    Lysimachia congestiflora Hemsl.
                       กล้วยไม้ดิน ล�าลูกกล้วยรูปไข่ แบน เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 ซม. ใบพับจีบ   ไม้ล้มลุก ล�าต้นทอดเลื้อย อาจสูงได้ถึง 50 ซม. มีขนยาว มีรากตามข้อ ใบเรียง
                    มี 2-4 ใบ รูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาว 10-42 ซม. โคนสอบเรียว ช่อดอกแบบช่อกระจะ   ตรงข้าม รูปไข่กว้าง ยาว 1-4.5 ซม. ปลายแหลมหรือมน โคนรูปลิ่มถึงกลม แผ่นใบ
                    ออกที่โคนล�าลูกกล้วย ช่อตั้งขึ้น มีขนสั้นนุ่ม ก้านช่อยาว 15-60 ซม. แกนช่อยาว   มีขนและต่อมกระจาย เส้นแขนงใบข้างละ 2-4 เส้น ก้านใบยาวได้ถึง 2 ซม. ช่อดอก
                                                                        แบบช่อกระจะสั้น ๆ คล้ายช่อกระจุก เรียงหนาแน่นช่วงปลายกิ่ง แต่ละช่อมี
                    5-20 ซม. มีได้ถึง 15 ดอก ใบประดับ 4-8 ใบ รูปใบหอก ยาว 0.5-3 ซม. ใบประดับ  2-4 ดอก ก้านดอกยาวประมาณ 2 มม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ปลายแหลม ยาว
                    ที่มีดอกรูปไข่แกมรูปใบหอก ยาว 0.3-1 ซม. ดอกสีเหลือง กลีบเลี้ยงคู่ล่างและปุ่มนูน   5-8.5 มม. ด้านนอกมีขนประปราย กลีบดอกสีเหลือง โคนด้านในมีสีส้มอมแดง
                    โคนกลีบปาก (cali) มักมีปื้นสีแดง กลีบเลี้ยงรูปรี ยาว 1.5-2 ซม. ปลายแหลม   กลีบรูปไข่ ยาว 7-9 มม. มีต่อมกระจาย ด้านนอกมีขนประปราย เกสรเพศผู้เชื่อม
                    กลีบดอกคล้ายกลีบเลี้ยง ขนาดเท่า ๆ กัน ปลายมน กลีบปากมี 3 พู พูกลางยาว   ติดกันที่โคนประมาณ 2.5 มม. ก้านชูอับเรณูที่แยกยาว 2.5-4.5 มม. อับเรณู
                    1-1.8 ซม. โคนเรียวเป็นก้านยาวเท่า ๆ แผ่นกลีบรูปพัด พูข้างรูปรี ยาว 0.5-1 ซม.   แตกด้านข้างตามยาว รังไข่มีขน ก้านเกสรเพศเมียยาว 5-7 มม. ยอดเกสรเป็นตุ่ม
                    โคนกลีบปากมีปุ่มนูนรูปกระบอง 2 ปุ่ม โคนเชื่อมติดกัน มีขนยาว เส้าเกสรเรียว   ผลแห้งแตก เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 มม. เมล็ดขนาดเล็ก
                    ยาว 1-1.4 ซม. กลุ่มเรณู 8 กลุ่ม แยกเป็น 2 กลุ่มย่อย ก้านและรังไข่ยาว 1.4-3.3 ซม.
                                                                           พบที่อินเดีย เนปาล ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า เวียดนาม ในไทยพบทางภาคเหนือ
                    ฝักแห้งแตก รูปรี ยาว 1.8-3 ซม.                      ที่เชียงใหม่ ขึ้นตามทุ่งหญ้า ชายป่าดิบเขา ความสูงประมาณ 1200 เมตร เป็นไม้ประดับ
                       พบที่พม่า ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู ชวา และบอร์เนียว ในไทยพบ  อาจใช้ชื่อ Lysimachia ‘procumbens’ มีหลายสายพันธุ์ ในจีนใช้รักษาแผล ช�้าบวม
                    ทุกภาค ขึ้นตามที่โล่ง ชายป่า ความสูง 1000-1200 เมตร   กระดูกแตก และเคล็ดขัดยอก

                       สกุล Spathoglottis Blume อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Epidendroideae เผ่า Collabieae   เอกสารอ้างอิง
                       มี ประมาณ 40 ชนิด พบในเอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมี 7   Chi-Ming, H. (1999). Primulaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 160-161.
                                                                           Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
                       ชนิด ส่วนมากมีสีเหลืองหรือสีครีม มีดอกสีชมพู 2 ชนิด คือ ชมพูพิศมร S.   Press, Honolulu, Hawai`i.
                       hardingiana C. S. P. Parish & Rchb. f. และว่านจุก S. plicata Blume และ
                       เป็นไม้ประดับหลากสายพันธุ์ ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “spath” กาบ และ
                       “glotta” ลิ้น ตามลักษณะของกลีบปาก
                      เอกสารอ้างอิง
                       Chen, X. and A. Bell. (2009). Orchidaceae (Spathoglottis). In Flora of China
                          Vol. 25: 287.
                       Kurzweil, H. (2014). Orchidaceae (Spathoglottis). In Flora of Thailand Vol.
                          12(2): 621-631.








                                                                          เหลืองสยาม: ช่อดอกแบบช่อกระจะสั้น ๆ คล้ายช่อกระจุก เรียงหนาแน่นช่วงปลายกิ่ง เกสรเพศผู้ 5 อัน เชื่อมติดกัน
                                                                        ที่โคน อับเรณูแตกด้านข้างตามยาว (ภาพ: cultivated - RP)
                                                                        เหียง
                                                                        Dipterocarpus obtusifolius Teijsm. ex Miq.
                                                                        วงศ์ Dipterocarpaceae
                                                                           ไม้ต้นผลัดใบ สูงได้ถึง 30 ม. เปลือกแตกเป็นร่องลึกตามยาว มีขนยาวและ
                                                                        ขนรูปดาวตามกิ่ง หูใบด้านนอก แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ ก้านดอก และกลีบเลี้ยง
                      เหลืองพิศมร: ใบพับจีบ ช่อดอกแบบช่อกระจะ มี 1-3 ช่อ ดอกสีเหลือง กลีบเลี้ยงคู่ล่างและปุ่มนูนโคนกลีบปาก   ด้านนอก หรือเกลี้ยง หูใบรูปใบหอก ยาวได้ถึง 7 ซม. ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือ
                    มักมีปื้นสีแดง (ภาพซ้าย: ภูจองนายอย อุบลราชธานี - PK); ว่านจุก: ดอกสีชมพู (ภาพขวา: ชุมพร - RP)  แกมรูปไข่ ยาว 10-30 ซม. ปลายมน โคนรูปลิ่มกว้างหรือเว้าตื้น เส้นแขนงใบข้างละ

                                                                                                                    471






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   471                                                                 3/1/16   6:32 PM
   486   487   488   489   490   491   492   493   494   495   496