Page 486 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 486

หูเสือหินปูน


                หูเสือหินปูน        สารานุกรมพืชในประเทศไทย
                Plectranthus albicalyx Suddee
                   ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 50 ซม. มีขนและขนต่อมประปรายตามกิ่ง แผ่นใบ ช่อดอก และ
                กลีบเลี้ยง ใบรูปไข่ ยาว 2.5-6 ซม. โคนตัดหรือรูปลิ่มกว้าง แผ่นใบมีต่อมขนาดเล็ก
                ด้านล่าง ก้านใบยาว 0.5-2.5 ซม. ช่อดอกออกเดี่ยว ๆ หรือแยกแขนง ยาวได้ถึง
                15 ซม. ช่อแยกแขนงยาวได้ถึง 7 ซม. ช่อกระจุกเรียงรอบข้อ ห่างกัน 0.5-1.2 ซม.
                ไร้ก้าน แต่ละช่อมีประมาณ 3 ดอก ใบประดับรูปไข่ ยาว 4-7 มม. ก้านดอกยาว
                1-2 มม. ขยายในผลยาว 2-3 มม. หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 2 มม. กลีบบนรูปไข่
                กลีบล่างขอบจัก กลีบกลางรูปใบหอก ยาวเท่า ๆ กับกลีบบน กลีบข้างรูปไข่กลับ
                สั้นกว่ากลีบกลาง ขยายในผลยาว 8-9 มม. ดอกสีม่วงอมน�้าเงิน ยาว 0.7-1 ซม.
                หลอดกลีบยาว 4-6 มม. กลีบล่างยาวกว่ากลีบบน ผลรูปไข่หรือรูปรี สีน�้าตาล
                หรือด�า ยาวประมาณ 1.5 มม.
                   พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคกลางที่สระบุรี ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่  ฤๅษีผสมแล้ว: ช่อดอกไม่แยกแขนง มีทั้งแบบใบสีเขียวและหลากสีในต้นที่ปลูกเป็นไม้ประดับ (ภาพ: cultivated - RP)
                ขอนแก่น ภาคตะวันออกที่นครราชสีมา และภาคตะวันตกเฉียงใต้ ขึ้นบนหินปูน
                ในป่าดิบแล้ง ความสูง 50-500 เมตร                     หูหมี
                                                                     Epithema saxatile Blume
                  เอกสารอ้างอิง
                   Suddee, S., A. Paton and J. Parnell. (2005). A taxonomic revision of tribe Ocimeae   วงศ์ Gesneriaceae
                      Dumort. (Lamiaceae) in continental South East Asia II. Plectranthinae. Kew   ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 40 ซม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง แผ่นใบด้านบน ก้านช่อดอก
                      Bulletin 59(3): 387-413.                       ใบประดับ และกลีบเลี้ยงด้านนอก ใบเรียงตรงข้าม รูปรีกว้างเกือบกลม ยาว
                                                                     4.5-20 ซม. ใบที่โคนขนาดใหญ่ ปลายแหลมหรือมน ขอบจักซี่ฟันหรือจักฟันเลื่อย
                                                                     โคนตัดหรือเว้าตื้น มักเบี้ยว แผ่นใบด้านล่างมักมีสีม่วง ก้านใบยาวได้ถึง 12 ซม.
                                                                     ใบช่วงปลายเรียงตรงข้าม ไร้ก้าน ช่อดอกแบบช่อวงแถวเดี่ยว เรียงแน่นคล้าย
                                                                     ช่อซี่ร่ม ก้านช่อยาว 2-17 ซม. ใบประดับหุ้มรองช่อดอก รูปรี ยาว 1.3-3.5 ซม.
                                                                     ขอบจักซี่ฟัน ก้านดอกยาว 1-4 มม. กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาว 3.3-5 มม. แยก 5 แฉก
                                                                     รูปสามเหลี่ยม ติดทน ดอกรูประฆัง สีขาว ชมพู หรือม่วง มักมีจุดสีม่วงเข้ม
                                                                     ด้านในกลีบปากบน ยาว 6.5-9.5 มม. กลีบบน 2 กลีบ กลีบล่าง 3 กลีบ ขนาด
                                                                     ประมาณ 2 มม. ด้านในมีปื้นขน เกสรเพศผู้ติดบนก้านชูที่เชื่อมติดกันเป็นแผ่น
                                                                     บาง ๆ อันที่สมบูรณ์ 2 อัน ยาว 1-2 มม. อับเรณูติดที่ฐาน ปลายอับเรณูติดกัน
                                                                     อันที่เป็นหมัน 2 อัน รังไข่มีช่องเดียว มีขนสั้นนุ่มเป็นตะขอ พลาเซนตาตามแนว
                  หูเสือกาบใหญ่: โคนใบตัดหรือเว้าตื้น ใบประดับรูปไข่กว้าง ช่อย่อยมีหลายดอก (ภาพ: ดอยตุง เชียงราย - PK)
                                                                     ตะเข็บ ก้านเกสรเพศเมียยาว 3-5 มม. ยอดเกสรจัก 2 พู ผลแห้งแตกตามขวาง
                                                                     รูปไข่กลับ ยาว 2-2.5 มม. เมล็ดจ�านวนมาก ขนาดเล็ก
                                                                       พบที่พม่า คาบสมุทรมลายู ชวา สุมาตรา และบอร์เนียว ในไทยพบทางภาคใต้
                                                                     ตั้งแต่สุราษฎร์ธานีลงไป ขึ้นตามซอกหินปูนริมล�าธารในป่าดิบชื้น ความสูงถึง
                                                                     ประมาณ 900 เมตร

                                                                       สกุล Epithema Blume มีประมาณ 20 ชนิด พบที่แอฟริกา อินเดีย ศรีลังกา เนปาล
                                                                       จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย นิวกินี และหมู่เกาะโซโลมอน ในไทย
                                                                       มีประมาณ 4 ชนิด อีก 3 ชนิด E. carnosum Benth., E. ceylanicum Wight
                                                                       และ E. membranaceum (King) Kiew ใบประดับขนาดเล็ก หรือขนาดใหญ่หุ้ม
                                                                       ช่อดอกเพียงเล็กน้อย ชื่อสกุลเป็นภาษากรีก “epithema” หมายถึงหุ้มด้านนอก
                                                                       ตามลักษณะช่อดอกที่ติดบนใบประดับ
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Bransgrove, K. and D.J. Middleton. (2015). A revision of Epithema (Gesneriaceae).
                  หูเสือน�้าตก: ใบรูปใบหอกหรือรูปใบหอกกลับ โคนรูปลิ่มหรือสอบ ช่อดอกแยกแขนง แต่ละช่อกระจุก มี 2-3 ดอก
                ใบประดับร่วงเร็ว (ภาพ: น�้าตกพาเจริญ ตาก - RP)            Gardens’ Bulletin Singapore 67(1): 159-229.



















                  หูเสือหินปูน: ช่อดอกแยกแขนง แต่ละช่อกระจุกมีประมาณ 3 ดอก กลีบเลี้ยงล่างกลีบกลางยาวเท่า ๆ กลีบบน   หูหมี: E. saxatile ใบเรียงตรงข้าม ช่อดอกแบบช่อวงแถวเดี่ยวเรียงแน่นคล้ายช่อซี่ร่ม ใบประดับหุ้มรองช่อดอก
                กลีบดอกกลีบล่างยาวกว่ากลีบบน (ภาพ: ป่าละอู ประจวบคีรีขันธ์ - RP)  ดอกรูประฆัง มักมีจุดสีม่วงเข้มด้านในกลีบปากบน กลีบบน 2 กลีบ กลีบล่าง 3 กลีบ (ภาพ: ห้วยยอด ตรัง - DM)

                466






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   466                                                                 3/1/16   6:31 PM
   481   482   483   484   485   486   487   488   489   490   491