Page 482 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 482

ห้อมช้าง
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                   พบที่พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทยส่วนมากพบทางภาคใต้ และ  หอมหมื่นลี้
                ภาคตะวันออกเฉียงใต้ พบประปรายทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้นตามคบไม้  Osmanthus fragrans Lour.
                ในป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าพรุ ใบมีสรรพคุณบรรเทาอาการปวด ลดไข้
                                                                     วงศ์ Oleaceae
                  เอกสารอ้างอิง                                        ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. กิ่งมีช่องอากาศ ใบเรียงตรงข้าม รูปขอบขนานหรือ
                   Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
                      Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/  รูปใบหอก ยาว 5-15 ซม. ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่มแคบ แผ่นใบหนา ขอบเรียบ
                   Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Polypodiaceae. In Flora of Thailand 3(4):   หรือจักฟันเลื่อย เส้นแขนงใบข้างละ 9-10 เส้น ก้านใบยาว 0.5-2.5 ซม. ช่อดอก
                      487-490.                                       ออกเป็นกระจุก ใบประดับเกลี้ยง รูปไข่ ยาว 2-4 มม. ก้านดอกยาว 0.4-1.5 ซม.
                   Xianchun, Z. and M.G. Gilbert. (2013). Polypodiaceae (Platycerium). In Flora of   กลีบเลี้ยงรูประฆัง หลอดกลีบยาวประมาณ 0.5 มม. มี 4 กลีบ รูปสามเหลี่ยมยาว
                      China Vol. 2-3: 796.                           เท่า ๆ หลอดกลีบ ดอกสีขาว รูประฆัง หลอดกลีบดอกยาว 1-1.5 มม. มี 4 กลีบ
                                                                     เรียงซ้อนเหลื่อมในตาดอก กลีบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ปลายกลม ยาว 2-3 มม.
                                                                     เกสรเพศผู้ 2 อัน ติดเหนือหลอดกลีบ ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 0.5 มม. อับเรณู
                                                                     ติดด้านหลัง ยาวประมาณ 1 มม. ปลายมีรยางค์เล็ก ๆ รังไข่สูงประมาณ 1.5 มม.
                                                                     มี 2 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 1 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียสูงประมาณ 0.5 มม. ยอดเกสร
                                                                     แยก 2 แฉก ผลผนังชั้นในแข็ง รูปรี เบี้ยว ยาว 1-2 ซม. ปลายแหลม
                                                                       พบที่อินเดีย เนปาล พม่า จีนตอนใต้ ไต้หวัน เวียดนาม และกัมพูชา ในไทย
                                                                     พบที่ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ ขึ้นตามป่าดิบเขาสูง ใกล้แอ่งน�้าซับ ความสูง
                                                                     2400-2550 เมตร นิยมปลูกเป็นไม้ประดับ มีหลายพันธุ์ หลากสี กลิ่นหอมแรง

                  ห่อข้าวสีดา: เฟินอิงอาศัย ใบไม่สร้างสปอร์ตั้งขึ้น จักเป็นพู แยก 2 แฉก โคนใบมนกว้าง อวบน�้า ใบสร้างสปอร์  สกุล Osmanthus Lour. มีประมาณ 30 ชนิด พบในสหรัฐอเมริกา เม็กซิโก
                ห้อยลง แยก 2 แฉก หลายครั้ง แผ่นอับสปอร์มีก้าน (ภาพ: พรุโต๊ะแดง นราธิวาส - PC)
                                                                       เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ พบมากในจีน ในไทยมี 3 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษา
                ห้อมช้าง                                               กรีก “osme” กลิ่นหอม และ “anthos” ดอก
                Phlogacanthus curviflorus (Wall.) Nees                เอกสารอ้างอิง
                วงศ์ Acanthaceae                                       Chang, M.C., L.C. Chiu, Z. Wei and P.S. Green. (1996). Oleaceae. In Flora of
                                                                          China Vol. 15: 286, 292.
                  ชื่อพ้อง Justicia curviflora Wall.                   Green, P.S. (2000). Oleaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(2): 279.
                   ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 5 ม. ใบเรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 12-35 ซม.
                ปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนสอบ แผ่นใบด้านล่างมีขนตามเส้นแขนงใบ ก้านใบยาว
                1.5-5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ออกตามปลายกิ่ง ยาว 14-18 ซม.
                แต่ละช่อกระจุกมี 1-5 ดอก ก้านดอกยาว 0.5-1.2 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ใบประดับ
                รูปใบหอก ยาว 3-7 มม. ใบประดับย่อยขนาดเล็ก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ แฉกลึก รูปใบหอก
                ยาว 0.6-1 ซม. ด้านในมีขนหนาแน่น ดอกสีม่วงอมแดงหรืออมชมพู รูปปาก
                เปิด หลอดกลีบดอกโป่งข้างเดียว ปลายโค้งเล็กน้อย ยาว 4-6 ซม. ด้านนอกมี
                ขนละเอียด กลีบล่าง 3 กลีบ รูปรีปลายแหลม ยาว 2-3 มม. กลีบบน 2 กลีบ สั้นกว่า
                กลีบล่างเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 2 อัน ติดภายในหลอดกลีบดอก ยื่นพ้นปากหลอดกลีบ
                เล็กน้อย ก้านชูอับเรณูเกลี้ยง อับเรณูยาวประมาณ 5 มม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน
                2 อัน ขนาดเล็ก รังไข่เกลี้ยง ผลแห้งแตก รูปแถบ มีสันเป็นสี่เหลี่ยม ยาว 3.5-5 ซม.
                มีหลายเมล็ด แบน เว้าตื้น ๆ ยาว 5.5-6.5 มม. มีขนสั้นนุ่ม
                   พบที่อินเดีย ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า ลาว และเวียดนาม ในไทยพบทางภาคเหนือ
                ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เลย และภาคกลางที่นครนายก ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และ  หอมหมื่นลี้: กิ่งมีช่องอากาศ ใบเรียงตรงข้าม ขอบเรียบหรือจักฟันเลื่อย ช่อดอกออกเป็นกระจุก กลีบดอก 4 กลีบ
                ป่าดิบเขา ความสูง 300-1500 เมตร ใบต้มดื่มแก้ไอ       ผลรูปรี เบี้ยว (ภาพซ้าย: ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่, ภาพดอก - RP, ภาพผล - SSi; ภาพขวา: cultivated - PK)

                   สกุล Phlogacanthus Nees อยู่ภายใต้เผ่า Ruellieae มีประมาณ 15 ชนิด พบใน   หัวร้อยรู
                   เอเชีย ในไทยมีประมาณ 12 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “phlogos” เปลวไฟ   Hydnophytum formicarum Jack
                   และ “akantha” หนาม ตามลักษณะและสีของดอกบางชนิด    วงศ์ Rubiaceae
                  เอกสารอ้างอิง                                        ไม้พุ่มอิงอาศัย คอรากพองเป็นหัวเป็นที่อาศัยของมด ยาว 25-30 ซม. มีรู
                   Hu, J.Q. and T.F. Daniel. (2011). Acanthaceae (Phlogacanthus). In Flora of   ทางเข้ามดกระจาย ผิวไม่มีหนาม แตกกิ่ง ยาวได้ถึง 30 ซม. หูใบรูปสามเหลี่ยม
                      China Vol. 19: 475.
                                                                     ขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงตรงข้าม รูปรี รูปขอบขนาน หรือรูปไข่กลับ ยาว 5-9 ซม.
                                                                     ปลายมน โคนรูปลิ่ม ก้านใบยาว 2-5 มม. ดอกออกตามซอกใบ มี 1-5 ดอก ไร้ก้าน
                                                                     หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1 มม. ขอบเรียบ ติดทน ดอกรูปดอกเข็ม สีขาว
                                                                     หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 3 มม. ปากหลอดมีขนสั้นนุ่ม มี 4 กลีบ รูปขอบขนาน
                                                                     ยาวเท่า ๆ หลอดกลีบดอก เกสรเพศผู้ 4 อัน ติดใต้ปากหลอด ก้านชูอับเรณูสั้นมาก
                                                                     รังไข่ใต้วงกลีบ มี 2 ช่อง แต่ละช่องมีออวุลเม็ดเดียว ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสร
                                                                     จัก 2 พู ไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก ผลผนังชั้นในแข็ง รูปไข่เรียวแคบ ยาวประมาณ
                                                                     5 มม. สุกสีส้มอมแดง มี 2 ไพรีน สีด�า
                                                                       พบที่พม่า เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย และนิวกินี ในไทยส่วนมากพบทางภาคใต้
                                                                     และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นตามคบไม้ในป่าดิบชื้น ป่าชายหาด และป่าพรุน�้าจืด
                  ห้อมช้าง: ใบเรียงตรงข้าม ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ออกตามปลายกิ่ง ดอกรูปปากเปิด หลอดกลีบดอก
                โป่งข้างเดียว ปลายโค้งเล็กน้อย เกสรเพศผู้ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอกเล็กน้อย (ภาพ: อุ้มผาง ตาก - PK)  น�้าต้มจากหัวมีสรรพคุณแก้ตับและล�าไส้อักเสบ


                462






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   462                                                                 3/1/16   6:29 PM
   477   478   479   480   481   482   483   484   485   486   487