Page 478 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 478
หมี่
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
สกุล Daphniphyllum เป็นสกุลเดียวของวงศ์ มีประมาณ 25 ชนิด พบในอินเดีย หยั่งสมุทร
ศรีลังกา จีน ไต้หวัน ญี่ปุ่น เกาหลี ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย นิวกินี ออสเตรเลีย Amalocalyx microlobus Pierre ex Spire
พบมากในเอเชียตะวันออก ในไทยมี 4 ชนิด มีหลายชนิดนิยมปลูกเป็นไม้ประดับ
ในจีนและญี่ปุ่น ชื่อสกุลหมายถึงคล้ายกับสกุล Daphne ในวงศ์ Thymelaeaceae วงศ์ Apocynaceae
ไม้เถา น�้ายางสีขาว กิ่งมีขนสั้นนุ่มและขนสาก กิ่งแก่เกลี้ยง เป็นคอร์ก ใบเรียง
หมี่ ตรงข้าม รูปไข่กลับ ยาว 3.5-24 ซม. ปลายแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง แผ่นใบมี
Daphniphyllum pierrei Hance ขนละเอียดทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 0.8-4 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก ยาว 9-25 ซม.
ชื่อพ้อง Daphniphyllum majus Müll. Arg. var. pierrei (Hance) T. C. Huang ดอกหนาแน่นช่วงปลายช่อ กลีบเลี้ยงรูปรีหรือรูปแถบ ยาว 0.5-1 ซม. มีต่อมที่โคน
ด้านใน ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม ดอกรูปแตร สีขาวอมม่วงหรือชมพู ด้านในมีสีเข้ม
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 3 ม. ใบรูปรี รูปขอบขนาน แกมรูปไข่หรือรูปไข่กลับ ยาว 9-25 ซม. เรียงซ้อนทับด้านขวาในตาดอก หลอดกลีบดอกยาว 2-3 ซม. มี 5 กลีบ รูปรีกว้าง
ปลายแหลมหรือมน มีติ่งแหลมสั้น ๆ โคนรูปลิ่ม มักเบี้ยว ก้านใบยาว 1-6 ซม. ยาว 3-6 มม. เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดใต้กึ่งกลางหลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้นมาก
ช่อดอกยาว 3-5 ซม. ดอกเพศผู้คล้ายดอกเพศเมีย ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว 1-2.5 ซม. อับเรณูยาว 5-6 มม. จานฐานดอกเป็นวง สูงกว่ารังไข่ มี 2 คาร์เพล ปลายเชื่อมติดกัน
ในดอกเพศเมียยาวได้ถึง 1.5 ซม. กลีบเลี้ยง 3-5 กลีบ รูปรีหรือรูปไข่ ยาวประมาณ เป็นก้านเกสรเพศเมียยาว 1.5-2.2 ซม. รวมยอดเกสร ผลแตกแนวเดียวออกเป็นคู่
2 มม. ติดทน เกสรเพศผู้มีประมาณ 12 อัน ปลายเชื่อมติดกัน ก้านเกสรเพศเมียสั้น โคนและปลายเชื่อมติดกัน ยาว 6-9 ซม. แต่ละฝักกว้าง 1.6-1.8 ซม. ผนังผลเป็นคอร์ก
ผลรูปรี ยาว 1-1.2 ซม. สุกสีด�า ผลแห้งมีปุ่มขรุขระ เป็นสัน มีขนสั้นนุ่ม เมล็ดยาวประมาณ 1 ซม. ปลายมีกระจุกขนยาวประมาณ 4 ซม.
พบที่ภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคตะวันออกที่อุบลราชธานี พบที่จีนตอนใต้ พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบกระจายทั่วไป ยกเว้น
และภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่นครพนม ขึ้นตามป่าดิบแล้ง ความสูง 100-200 เมตร ภาคใต้ ขึ้นตามชายป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง หรือบนเขาหินปูน ความสูง
100-1300 เมตร
หมี่ลูกแดง
Daphniphyllum beddomei Craib สกุล Amalocalyx Pierre มีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “amalos” นุ่ม
ชื่อพ้อง Daphniphyllum glaucescens Blume subsp. beddomei (Craib) T. C. และ “kalyx” กลีบเลี้ยง ตามลักษณะของกลีบเลี้ยงที่มีขนสั้นนุ่ม
Huang เอกสารอ้างอิง
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 8-20 ซม. บางครั้ง Li, B., A.J.M. Leeuwenberg and D.J. Middleton. (1995). Apocynaceae. In Flora
of China Vol. 16: 172
เรียวโค้ง ปลายแหลมหรือยาวคล้ายหาง โคนรูปลิ่ม ก้านใบยาวได้ถึง 4 ซม. ช่อดอก Middleton, D.J. (1999). Apocynaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 126-127.
ยาวได้ถึง 6 ซม. ดอกเพศผู้คล้ายดอกเพศเมีย ก้านดอกยาวประมาณ 1 ซม. ขยายในผล
ยาวได้ถึง 1.6 ซม. กลีบเลี้ยง 4-5 กลีบ ยาวประมาณ 1 มม. ร่วงเร็ว เกสรเพศผู้
8-10 อัน แยกกัน ปลายอับเรณูเป็นติ่งแหลม ในดอกเพศเมีย ก้านเกสรเพศเมีย
ปลายม้วน มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน ร่วงง่าย ผลรูปรี ยาวประมาณ 1.5 ซม. สุกสีแดง
ผลแห้งมีปุ่มขรุขระ
พบที่พม่า กัมพูชา และเวียดนาม ในไทยพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออก
และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นตามป่าดิบเขา ความสูง 800-1000 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Harwood, B. (2011). Daphniphyllaceae. In Flora of Thailand Vol. 11(1): 4-7.
Min, T. and K. Kubitzki. (2008). Daphniphyllaceae. In Flora of China Vol. 11: 315. หยั่งสมุทร: ช่อดอกแบบช่อกระจุก ดอกหนาแน่นช่วงปลายช่อ ดอกรูปแตร มีสีเข้มด้านใน ผลเป็นฝักแตกแนวเดียว
ออกเป็นคู่ โคนและปลายเชื่อมติดกัน (ภาพ: ดอยหัวหมด ตาก - PK)
หยาดนภา
Onosma burmanica Collett & Hemsl.
วงศ์ Boraginaceae
ไม้ล้มลุก อาจสูงได้มากกว่า 1 ม. มีขนยาวหนาแน่นตามกิ่งอ่อน ช่อดอก และ
กลีบเลี้ยง ใบที่โคนต้นจ�านวนมาก แห้งติดทน ใบรูปใบหอก ยาว 6-11 ซม. แผ่นใบ
ด้านบนมีขนสาก ด้านล่างมีขนแบบใยไหม ใบบนล�าต้น ยาว 3-7 ซม. ช่อดอกแบบ
ช่อกระจุกแยกแขนง ออกหนาแน่นช่วงปลายกิ่ง ยาว 10-30 ซม. ช่อกระจุกย่อย
หมี่: ใบเรียงหนาแน่นที่ปลายกิ่ง ปลายแหลมหรือมน มีติ่งแหลมสั้น ๆ ก้านใบสีแดงเรื่อ ๆ (ภาพ: นครพนม - PK) แบบช่อปลายม้วน ยาว 3-5 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 5 กลีบ
กลีบเลี้ยงแยกจรดโคน รูปแถบ ยาว 0.8-1 ซม. ดอกรูปกรวยคว�่า สีขาวเปลี่ยนเป็น
สีน�้าตาลอ่อน กว้าง 5-7 มม. ยาว 1-1.3 ซม. ด้านในมีขนอุยเรียงเป็นรูปแถบ
สั้น ๆ ใกล้โคนกลีบ ต่อมน�้าต้อยจักเป็นพูขนาดเล็ก มีขนอุย เกสรเพศผู้ 5 อัน
ยื่นเลยหลอดกลีบ มีขน อับเรณูเรียงติดกันเป็นหลอด ก้านเกสรเพศเมียเกลี้ยง
ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลย่อยแเบบเปลือกแข็งเมล็ดล่อนมี 4 ผล รูปสามเหลี่ยมแกมรูปไข่
ยาวประมาณ 3-3.5 ซม. สีน�้าตาล มีตุ่มกระจาย
พบที่พม่า และภาคเหนือตอนล่างของไทยที่ดอยหัวหมด จังหวัดตาก ขึ้นตาม
ที่โล่งบนเขาหินปูน ความสูง 900-1000 เมตร
สกุล Onosma L. มีประมาณ 145 ชนิด พบในแถบประเทศตะวันออกกลาง
อินเดีย ทิเบต จีน และพม่า ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลเป็นภาษากรีกที่ใช้เรียก
ชนิด O. echioides L. หรือ stone bugloss
เอกสารอ้างอิง
หมี่ลูกแดง: ใบเรียงหนาแน่นที่ปลายกิ่ง เรียวโค้ง ปลายแหลมหรือยาวคล้ายหาง ผลสุกสีแดง (ภาพ: เขาคิชฌกูฏ Zhu, G., H. Riedl and R.V. Kamelin. (1995). Boraginaceae. In Flora of China
จันทบุรี - PPh) Vol. 16: 348.
458
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 458 3/1/16 6:33 PM