Page 473 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 473

สารานุกรมพืชในประเทศไทย
                                                                                                            หม้อข้าวหม้อแกงลิง

                                                                           พบในภูมิภาคมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ นิวกินี และภาคใต้ของไทยที่ พัทลุง สงขลา
                                                                        สตูล ปัตตานี ยะลา นราธิวาส ขึ้นตามที่โล่ง ที่ชุ่มน�้า หรือใต้ร่มในป่าดิบชื้น ความสูง
                                                                        ระดับต�่า ๆ

                                                                        หม้อแกงลิงเขา
                                                                        Nepenthes sanguinea Lindl.
                      มะนาวไม่รู้โห่: กลีบดอกสั้นกว่าหลอดกลีบ เส้นแขนงใบ 4-12 เส้น (ภาพ: cultivated - RP); หีบไม้งาม: กลีบดอก  ไม้เถาล้มลุก ยาวได้ถึง 6 ม. ล�าต้นเป็นเหลี่ยม มีต่อมสีแดงกระจาย ใบรูปใบหอก
                    ยาวกว่าหลอดกลีบดอก (ภาพ: cultivated - RP)
                                                                        ยาวได้ถึง 20 ซม. ใบตามล�าต้นช่วงปลายมีขนาดเล็ก โคนสอบโอบรอบต้น เส้นใบ
                    หนามพุงดอ                                           ข้างละ 2 เส้น หม้อล่างรูปทรงกระบอกแกมรูปคนโท ยาว 13-25 ซม. ด้านนอกสีม่วง
                    Azima sarmentosa (Blume) Benth. & Hook. f.          อมแดง มีขนสั้นกระจาย ด้านในสีเขียวนวล มีจุดสีแดงอมม่วง สันปีกกว้าง 2-5 มม.
                                                                        ขอบจักชายครุย ยาว 4-6 มม. ปากหม้อรูปไข่ ยาว 1.3-7 ซม. ขอบกว้างได้ถึง 1.2 ซม.
                    วงศ์ Salvadoraceae                                  ฝาหม้อรูปรีหรือรูปไข่ ยาว 1.5-6.5 ซม. มีต่อมประปราย หม้อบนคล้ายหม้อล่าง
                      ชื่อพ้อง Actegeton sarmentosa Blume               ยาว 13-27 ซม. คอดเล็กน้อย ด้านนอกสีเขียว สันปีกจักชายครุย ช่อดอกยาว
                       ไม้พุ่ม กิ่งมักห้อยลง ยาว 2-4 ม. แยกเพศต่างต้น มีหนามแหลม 1-2 อัน   35-65 ซม. ก้านช่อยาว 10-33 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ใบประดับรูปใบหอก ยาวประมาณ
                    ตามซอกใบ หนามยาว 1-1.5 ซม. หูใบ 2 อัน ขนาดเล็ก รูปลิ่มแคบ ใบเรียงตรงข้าม   5 มม. ก้านดอกยาว 0.3-1.2 ซม. กลีบรวมรูปรี ยาว 2-3 มม. เส้าเกสรเพศผู้ยาว
                    รูปรี รูปไข่กว้าง หรือกลม ยาว 2-6 ซม. ปลายแหลมหรือเป็นติ่งคล้ายหนาม ยาว   2-3.5 มม.
                    1-2 มม. แผ่นใบด้านบนเป็นมันเงา เส้นกลางใบนูนชัดทั้งสองด้าน ก้านใบยาว 2-8 มม.   พบที่คาบสมุทรมลายู และภาคใต้ตอนล่างของไทยที่ยะลา ขึ้นตามป่าดิบเขา
                    ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ยาวได้ถึง 25 ซม. ดอกสีเหลืองอมเขียว ดอกเพศผู้  ความสูง 1200-1500 เมตร บางครั้งพบอิงอาศัยบนคาคบไม้
                    เกือบไร้ก้าน ออกหนาแน่น กลีบเลี้ยงรูประฆัง มี 4 กลีบ แฉกลึกประมาณ 2 มม.
                    กลีบดอก 4 กลีบ แยกจรดโคน ยาวกว่ากลีบเลี้ยงเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 4 อัน เรียงสลับ  หม้อแกงลิงเล็ก
                    กับกลีบดอก ยื่นพ้นกลีบดอก ไม่มีรังไข่ที่เป็นหมัน ดอกเพศเมียขนาดเล็กกว่า  Nepenthes gracilis Korth.
                    ดอกเพศผู้เล็กน้อย แต่ก้านดอกยาวได้ถึง 8 มม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันสั้นกว่า
                    กลีบดอก รังไข่มี 2 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรจัก 2 พู ผลสด กลม สีขาว   ไม้เถาล้มลุก ยาวได้ถึง 10 ม. เถาเป็นรูปสามเหลี่ยม มีครีบเชื่อมโคนใบ ใบรูปแถบ
                    เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-6 มม. เมล็ดมี 1-3 เมล็ด         ยาว 10-18 ซม. โคนสอบโอบล�าต้น เส้นใบข้างละ 4-6 เส้น หม้อล่างรูปคนโท
                       พบที่ไห่หนาน และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมถึงฟิลิปปินส์ และนิวกินี ในไทย  สูง 5-7 ซม. ด้านนอกสีน�้าตาลแดงอมม่วง มีขนประปราย ด้านในสีเขียวนวล สันครีบ
                    พบแทบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่งชายป่าชายเลน ป่าชายหาด หรือป่าเต็งรังผสมสน   กว้าง 1-5 มม. ปากหม้อรูปไข่กว้าง ยาวประมาณ 1.5 ซม. ขอบบาง หนา 2-5 มม.
                                                                        สีเขียวมีแต้มสีน�้าตาลอมม่วง ฝาหม้อรูปไข่กว้าง ยาว 1-3 ซม. มีต่อม 3-30 ต่อม
                    ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร เมื่อขยี้ใบจะมีกลิ่นน�้ามัน เนื่องจากใบมีน�้ามัน
                    มัสตาร์ด  ซึ่งเป็นสาร glucosinolates                สายหม้อยาว 5-10 ซม. หม้อบนคล้ายหม้อล่าง สูง 7-13 ซม. ด้านนอกสีเขียวอมเหลือง
                                                                        สายหม้อยาวกว่าหม้อเล็กน้อย ช่อดอกยาว 13-30 ซม. ก้านช่อดอกยาว 3-5 ซม.
                       สกุล Azima Lam. มี 4 ชนิด พบในแอฟริกาและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในไทย  มีขนสั้นนุ่มสีน�้าตาลแดง ก้านดอกยาวประมาณ 0.6-1.7 ซม. กลีบรวมรูปรี ยาว
                       มีชนิดเดียว ชื่อสกุลอาจมาจากภาษาพื้นเมืองของ มาลากาซี หรือมาดากัสการ์   2.5-3 มม. สีแดงคล�้า เส้าเกสรเพศผู้ยาว 1-1.2 มม.
                       “azimeana” ที่ใช้เรียกพืชสกุลนี้                    พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา บอร์เนียว และภาคใต้ของไทยที่พัทลุง สงขลา สตูล
                                                                        นราธิวาส ขึ้นตามชายป่าพรุ พื้นที่ชุ่มน�้า หรือสันเขามีความชื้นสูง ความสูงถึงประมาณ
                      เอกสารอ้างอิง                                     1200 เมตร
                       Backer, C.A. (1951). Salvadoraceae. In Flora Malesiana Vol. 4: 224.
                       Larsen, K. (2000). Salvadoraceae. In Flora of Thailand Vol. 7(2): 341-343.
                                                                        หม้อข้าวหม้อแกงลิง, สกุล
                                                                        Nepenthes L.
                                                                        วงศ์ Nepenthaceae
                                                                           ไม้เถาล้มลุกกินแมลง แยกเพศต่างต้น เถากลม เป็นเหลี่ยม หรือมีครีบ กิ่งอ่อน
                                                                        และใบอ่อนมีขนสั้นนุ่มและขนสั้นรูปดาวหนาแน่น มีต่อมขนาดเล็กกระจาย ไม่มีหูใบ
                                                                        ใบเรียงเวียน เส้นใบเรียงขนานกัน มีเส้นใบตามขวางจ�านวนมาก ปลายเส้นกลางใบ
                                                                        เป็นมือจับเปลี่ยนเป็นสายของหม้อดักแมลง (pitcher) แยกเป็นหม้อล่าง เกิดที่ใบ
                                                                        บนล�าต้นที่งอกใหม่ อยู่ชิดพื้นดิน รูปป้อม หันเข้าด้านใน ด้านข้างมีสันเป็นครีบ 2 ครีบ
                                                                        จักเป็นริ้ว และหม้อบน เกิดที่ใบบนล�าต้น รูปเรียวแคบหรือรูปกรวย หันออกด้านนอก
                      หนามพุงดอ: ใบเรียงตรงข้าม ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง เกสรเพศผู้ยื่นพ้นกลีบดอกในดอกเพศผู้ ผลสด กลม สีขาว   มีครีบด้านข้างหรือเป็นสันตื้น ๆ มือจับม้วนงอ ริมขอบบน (peristome) พับจีบเป็น
                    (ภาพ: สามร้อยยอด ประจวบคีรีขันธ์; ภาพดอก - MT, ภาพผล - RP)
                                                                        ครีบถี่ ขอบม้วนเป็นมันวาว ด้านบนมีฝา ใต้ฝามีต่อมน�้าต้อยกระจาย ขั้วด้านหลัง
                    หม้อแกงค่าง                                         มีเดือย ด้านในมีต่อมน�้าย่อยหนาแน่น ช่อดอกแบบช่อกระจะหรือช่อแยกแขนง ออกที่
                    Nepenthes ampullaria Jack                           ปลายกิ่ง ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือออกเป็นคู่ เป็นช่อสั้น ๆ พบน้อยที่มีมากกว่า 2 ดอก
                                                                        กลีบรวม 4 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อม มีต่อมหนาแน่น ในดอกเพศผู้มีขนาดใหญ่กว่า
                       ไม้เถาล้มลุก ยาวได้ถึง 10 ม. ล�าต้นแตกแขนงจ�านวนมาก ใบรูปใบหอก ใบที่โคน  เล็กน้อย ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันเป็นเส้าเกสร อับเรณูส่วนมากมี 4-12 อัน มี 4 ช่อง
                    ยาว 2-5 ซม. ใบบนล�าต้นยาวได้ถึง 33 ซม. โคนสอบ โอบรอบต้นเป็นครีบ เส้นใบ  รูปกลม รังไข่มี 4 ช่อง ออวุลจ�านวนมาก พลาเซนตารอบแกนร่วม เกสรเพศเมีย
                    ข้างละ 3-5 เส้น หม้อล่างรูปถัง เบี้ยว สีเขียวอ่อนหรือครีม มีสีแดงเข้มหรือสีชมพูแซม   ไร้ก้านหรือมีก้านสั้นมาก ยอดเกสรรูปจาน จัก 4 พู ผลแห้งแตกตามรอยประสาน
                    สูง 2-10 ซม. สันปีกกว้างประมาณ 1.5 ซม. ขอบจักชายครุย ยาว 0.5-1 ซม. ปากหม้อ  รูปกระสวยสั้น ๆ เมล็ดจ�านวนมาก เรียวแคบ โคนและปลายมีรยางค์รูปเส้นด้าย
                    รูปไข่ ขอบปากกว้าง 0.5-1.5 ซม. ฝาหม้อรูปใบหอกกลับ ยาว 2-4 ซม. ใต้ฝามีต่อม
                    5-12 ต่อม โคนมีเดือยยาวได้ถึง 1 ซม. สายหม้อยาวได้ถึง 20 ซม. หม้อบนส่วนมาก  สกุล Nepenthes มีประมาณ 90 ชนิด พบในมาดากัสการ์ เอเชีย ออสเตรเลีย และ
                                                                           หมู่เกาะแปซิฟิก พบมากในภูมิภาคมาเลเซีย มักขึ้นตามสภาพดินที่มีธาตุอาหารต่ำา
                    ไม่พัฒนาหรือลดรูปคล้ายรูปแตร ยาวประมาณ 2 ซม. ช่อดอกยาวได้ถึง 40 ซม.   หรือเป็นกรด ในไทยจำานวนชนิดยังไม่แน่นอน มีหลายชนิดที่นำาเข้ามาเป็นไม้ประดับ
                    ช่อที่โคนก้านช่อสั้น ช่อช่วงปลายก้านช่อยาว 8-50 ซม. ใบประดับรูปใบพาย ยาว   มีทั้งพันธุ์แท้และพันธุ์ผสม ทุกชนิดอยู่ในพืชอนุรักษ์บัญชีที่ 2 ของ CITES ชื่อสกุล
                    0.5-1.2 ซม. ก้านดอกยาว 5-8 มม. ดอกสีเขียวหรืออมเหลือง มีขนสีแดง กลีบรูปรี   มาจากภาษากรีก “ne” ไม่มี และ “penthos” เศร้าหรือทุกข์ หมายถึงมีคุณสมบัติ
                    ยาว 4-5 มม. เส้าเกสรเพศผู้ยาว 3-5 มม.                  ช่วยให้หายเศร้า ในภาษาละตินหมายถึงพืชที่ผสมในไวน์แล้วทำาให้ร่าเริง


                                                                                                                    453






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   453                                                                 3/1/16   6:32 PM
   468   469   470   471   472   473   474   475   476   477   478