Page 470 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 470
หนอนตายหยาก
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
หนอนตายหยาก
Stemona collinsiae Craib
วงศ์ Stemonaceae
ไม้เถาล้มลุก ยาวได้ถึง 60 ซม. ใบเรียงเวียน รูปไข่ ยาว 11-15 ซม. โคนรูปหัวใจ
เส้นแขนงใบ 11-17 เส้น ก้านใบยาว 5-15 ซม. ช่อดอกออกตามซอกใบ ช่อช่วงโคน
มักไร้ก้าน ช่วงปลายอาจยาวได้ถึง 4.5 ซม. ส่วนมากมีดอกเดียว หรือมีได้ถึง 8 ดอก
ใบประดับยาวประมาณ 1 มม. ดอกสีเขียวอมขาวหรืออมชมพู ก้านดอกยาว 0.5-3 ซม.
กลีบรวมรูปไข่แคบ กว้าง 0.5-1 มม. ยาว 1.3-2 ซม. กลีบคู่ในกว้างกว่าคู่นอก
เล็กน้อย เกสรเพศผู้ยาว 1-1.7 ซม. รวมปลายแกนอับเรณูรูปไข่แคบกว่าอับเรณู
เล็กน้อย ไม่มีรยางค์ ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 1 มม. ผลรูปรี ยาว 2-2.5 ซม.
มี 3-6 เมล็ด สีชมพูเข้ม เรียว ยาว 1-1.2 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เครือปุง, สกุล)
พบที่ลาว ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เลย ภาคตะวันออกที่
หนวดเสือ: โคนใบเรียวสอบตามก้านใบคล้ายปีกจรดกาบ ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม กลีบประดับรูปเส้นด้ายมี 6-20 อัน นครราชสีมา ภาคกลางที่สระบุรี และภาคตะวันออกเฉียงใต้ที่สระแก้ว ชลบุรี ขึ้นตาม
กลีบรวมวงนอกรูปสามเหลี่ยม วงในรูปไข่ขนาดเล็ก ผลแห้งแตกเป็น 3 ส่วน จรดโคน (ภาพ: ท่าสองยาง ตาก - RP) ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง หรือบนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 500 เมตร น�้าสกัด
จากรากใช้เป็นยาฆ่าแมลงศัตรูพืช
หนอนตายหยาก
Clitoria hanceana Hemsl. หนอนตายหยาก
วงศ์ Fabaceae Stemona tuberosa Lour.
ไม้พุ่มขนาดเล็ก มีขนสั้นนุ่มตามล�าต้น หูใบด้านนอก แผ่นใบด้านล่าง ก้านใบ ไม้เถาล้มลุก ยาว 2-5 ม. ใบเรียงตรงข้ามหรือเรียงรอบข้อ บางครั้งเรียงเวียน
กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก หูใบรูปใบหอก ยาว 0.6-1 ซม. หูใบย่อยยาวประมาณ ช่วงโคนต้น รูปไข่กว้าง ยาว 10-21 ซม. โคนรูปหัวใจตื้น ๆ เส้นแขนงใบ 13-15 เส้น
4 มม. ใบประกอบมี 3 ใบย่อย ก้านใบประกอบยาว 0.5-2 ซม. ใบย่อยรูปขอบขนาน ก้านใบยาว 6-10 ซม. ช่อดอกออกตามซอกใบ ก้านช่อยาว 0.8-3.5 ซม. มีหนึ่งหรือ
หรือรูปใบหอก ยาว 6-11 ซม. ปลายแหลมหรือเป็นติ่งแหลม โคนมน ก้านใบย่อยยาว หลายดอก ใบประดับยาว 0.5-2.5 ซม. ดอกสีเขียวอมเหลือง โคนมีปื้นสีน�้าตาลแดง
2-4 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามซอกใบ มี 1-3 ดอก ใบประดับรูปไข่ ยาว ก้านดอกยาว 0.5-1.8 ซม. กลีบรวมรูปใบหอกปลายแหลม กว้าง 5-6 มม. ยาว
3.5-4 มม. ใบประดับย่อยเรียวแคบและยาวกว่าใบประดับเล็กน้อย กลีบเลี้ยงเชื่อม 2.5-3.5 ซม. เกสรเพศผู้ยาวได้ถึง 3 ซม. รวมปลายแกนอับเรณูรูปลิ่มที่ยาวกว่า 2 ซม.
ติดกันประมาณ 1 ซม. ปลายแยกเป็น 5 แฉก รูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว 0.8-1.2 ซม. มีรยางค์คล้ายเดือย ยาว 5-6 มม. ก้านชูอับเรณูยาว 1-2 มม. ผลรูปไข่แคบ ยาว
ดอกสีครีม ยาว 3-3.5 ซม. กลีบกลางรูปไข่กลับ โคนเรียวแคบ กลีบคู่ข้างและกลีบปีก 2-4.5 ซม. มี 10-20 เมล็ด สีน�้าตาล ยาว 1-1.2 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เครือปุง, สกุล)
ขนาดเล็ก มีก้านสั้น ๆ เกสรเพศผู้ 10 อัน เชื่อมติดกัน 9 อัน ยาวประมาณ 2 ซม.
รังไข่มีขนหนาแน่น เกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้ ยอดเกสรเพศเมียขนาดเล็ก พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ ไต้หวัน พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์
ฝักรูปแถบ ยาว 5-7 ซม. ปลายมีจะงอย มี 2-7 เมล็ด รูปรี ยาวประมาณ 4 มม. ในไทยพบทุกภาค ขึ้นหลากหลายสภาพป่า หรือบนเขาหินปูน ความสูง 200-1200 เมตร
รากมีสรรพคุณต้านเชื้อแบคทีเรีย บรรเทาอาการไอ ฆ่าพยาธิ และฆ่าแมลงศัตรูพืช
พบที่จีนตอนใต้ และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคเหนือ
ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นตามที่โล่งในป่าเบญจพรรณ และ เอกสารอ้างอิง
ป่าดิบแล้ง ความสูงระดับต�่า ๆ Duyfjes, B.E.E. and P. Inthachub. (2011). Stemonaceae. In Flora of Thailand
Vol. 11(1): 80, 91-94.
สกุล Clitoria L. อยู่วงศ์ย่อย Papilionoideae เผ่า Phaseoleae มีประมาณ 60 ชนิด
พบในอเมริกา แอฟริกา มาดากัสการ์ เอเชีย และออสเตรเลีย ในไทยมี 4 ชนิด
และเป็นไม้ประดับหรือเป็นวัชพืช 1 ชนิด คือ อัญชัน C. ternatea L. อาจมีถิ่นกำาเนิด
ในแอฟริกา ใบประกอบมี 5-7 ใบย่อย มีทั้งดอกสีขาวและสีน้ำาเงินอมม่วง ชื่อสกุลมา
จากภาษากรีก “kleitoris” หรือ “kletoridos” คลิตอริส ตามลักษณะกลีบดอก
เอกสารอ้างอิง
Sa, R. and M.G. Gilbert. (2010). Fabaceae (Clitoria) in Flora of China Vol. 10:
200-201.
Thuân, N.V. (1979). Leguminosae-Phaseoleae. Flore du Cambodge du Laos et
du Vietnam 17: 49-50.
หนอนตายหยาก: S. collinsiae ใบเรียงเวียน โคนรูปหัวใจ ช่อดอกออกตามซอกใบ ส่วนมากมีดอกเดียว กลีบรวม
4 กลีบ ปลายแกนอับเรณูรูปไข่แคบ ผลรูปรี (ภาพ: เลย - PK)
หนอนตายหยาก: ใบประกอบมี 3 ใบย่อย กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันประมาณ 1 ซม. กลีบกลางรูปไข่กลับ กลีบคู่ข้างและ
กลีบปีกขนาดเล็ก (ภาพบน: มุกดาหาร - PK); อัญชัน: ใบประกอบมี 5-7 ใบย่อย มีทั้งดอกสีขาวและสีน�้าเงินอมม่วง หนอนตายหยาก: S. tuberosa ใบเรียงตรงข้ามหรือเรียงรอบข้อ บางครั้งเรียงเวียนช่วงโคนต้น โคนรูปหัวใจตื้น ๆ
(ภาพล่าง: cultivated - RP) กลีบรวมรูปใบหอกปลายแหลม ปลายแกนอับเรณูรูปลิ่ม (ภาพ: cultivated - PI)
450
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 450 3/1/16 6:31 PM