Page 467 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 467

หญ้ารักนา                                                      สารานุกรมพืชในประเทศไทย  หญ้าหงอนเหงือก
                    Ludwigia octovalvis (Jacq.) P. H. Raven
                      ชื่อพ้อง Oenothera octovalvis Jacq.
                       ไม้ล้มลุกหรือคล้ายไม้พุ่มเตี้ย มีเนื้อไม้ที่โคน สูงได้ถึง 4 ม. แตกกิ่งจ�านวนมาก
                    มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน แผ่นใบ ก้านดอก กลีบเลี้ยง และผล ใบรูปไข่กลับถึงรูปแถบ
                    ยาว 1-14 ซม. ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่ม ก้านใบยาวได้ถึง 1 ซม. ดอกส่วนมาก
                    ออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปไข่หรือรูปขอบขนาน ยาว 0.6-1.5 ซม.
                    ดอกสีเหลือง กลีบรูปไข่กลับกว้าง ยาว 0.6-1.7 ซม. เกสรเพศผู้ 8 อัน ก้านชูอับเรณู
                    ยาว 1-4 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ ก้านชูอับเรณู ยอดเกสรจัก 4 พู ผลรูป
                    ทรงกระบอก ยาว 1.7-4.5 ซม. มีสันตามยาว 8 สัน เปลือกบาง ก้านผลยาวได้ถึง
                    1 ซม. เมล็ดเรียง 2 แถวหรือหลายแถว
                       พบในอเมริกา แอฟริกา ยุโรป เอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ขึ้นตาม
                    ที่โล่งที่ชื้นแฉะ ริมแหล่งน�้า ความสูงถึงประมาณ 2200 เมตร มีความผันแปรสูง
                    บางครั้งแยกเป็นหลายชนิดย่อย มีสรรพคุณด้านสมุนไพรหลายอย่าง

                      เอกสารอ้างอิง
                       Boufford, D. and P.H. Raven. (2014). Onagraceae. In Flora of Thailand Vol.
                          11(4): 601-607.




                                                                          หญ้าลอยลม: ไหลแยกแขนง ใบรูปแถบ เรียงสลับระนาบเดียวหนาแน่น ช่อดอกมีกาบประดับ ช่อดอกเพศผู้แบบ
                                                                        ช่อกระจะเชิงประกอบ ช่อดอกเพศเมียหรือช่อดอกสมบูรณ์เพศแบบช่อกระจะคล้ายช่อเชิงลด ออกเป็นกระจุกแน่น
                                                                        (ภาพบน ต้นและช่อดอกเพศผู้: บางสะพาน ประจวบคีรีขันธ์, ภาพล่าง ช่อดอกเพศเมีย: เทพา ปัตตานี; - RP)
                                                                        หญ้าหงอนเหงือก, สกุล
                                                                        Murdannia Royle
                                                                        วงศ์ Commelinaceae
                      หญ้ารักนา: ใบเรียงเวียน มีขนสั้นนุ่มกระจาย ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ ผลรูปทรงกระบอก มีสันตามยาว
                    กลีบเลี้ยงติดทน (ภาพ: ขุนพะวอ ตาก - RP)                ไม้ล้มลุก รากหนารูปกระสวย ใบเรียงเป็นกระจุกที่โคนต้น เรียงเวียนตาม
                                                                        ล�าต้น ช่อดอกแบบช่อวงแถวเดี่ยว แยกแขนง กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวน
                    หญ้าลอยลม                                           อย่างละ 3 กลีบ แยกจรดโคน กลีบเลี้ยงรูปคล้ายเรือ เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ส่วนมาก
                    Spinifex littoreus (Burm. f.) Merr.                 มี 3 อัน หรือ 1-2 อัน ลดรูป อับเรณูแตกตามยาว เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันมี 3-4 อัน
                    วงศ์ Poaceae                                        หรือไม่มี ติดตรงข้ามกลีบดอก อับเรณูรูปลูกศร รังไข่มี 3 ช่อง ออวุลมี 1-7 เม็ด
                      ชื่อพ้อง Stipa littorea Burm. f., S. spinifex L., Spinifex squarrosus L.  ผลแห้งแตกเป็น 3 ซีก ส่วนมากมี 1-3 เมล็ดในแต่ละซีก เมล็ดเป็นเหลี่ยม ผิวเป็น
                       หญ้าหลายฤดู ไหลแยกแขนง ต้นที่มีช่อดอกสูง 30-100 ซม. แยกเพศต่างต้น  ร่างแห หรือตุ่ม มีขั้วเมล็ด
                    หรือดอกเพศผู้แยกต้น โคนกาบใบมีขน ลิ้นกาบบาง มีขนครุยหนาแน่น ใบรูปแถบ   สกุล Murdannia มีประมาณ 50 ชนิด พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน โดยเฉพาะ
                    เรียงสลับระนาบเดียว ยาว 5-22 ซม. แข็ง ปลายแหลมคล้ายหนาม ขอบมีขนสาก   ในเอเชีย ในไทยมีประมาณ 10 ชนิด ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวอินเดีย
                    ช่อดอกเพศผู้แบบช่อกระจะเชิงประกอบ ออกเป็นกระจุก 2-5 ช่อ กาบประดับ  Munshi Murdan Ali
                    รูปไข่หรือรูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 2.6 ซม. ช่อกระจะยาว 3-6 ซม. ช่อดอกย่อย
                    เรียงซ้อนเหลื่อมห่าง ๆ 5-10 ช่อ รูปใบหอก ยาว 0.8-1.2 ซม. กาบสั้นกว่าช่อ   หญ้าหงอนเหงือก
                    เส้นกาบ 7-10 เส้น ดอกย่อยดอกล่างกาบบาง ยาวประมาณ 8 มม. เส้นกาบ 5-7 เส้น
                    กาบล่างมีสัน อับเรณูยาว 4.5-5 มม. ดอกบนไม่มีเส้นกาบ ช่อดอกเพศเมียหรือ  Murdannia gigantea (Vahl) G. Brückn.
                    ช่อดอกสมบูรณ์เพศคล้ายช่อเชิงลด ออกเป็นกระจุกแน่น เส้นผ่านศูนย์กลาง   ชื่อพ้อง Commelina gigantea Vahl
                    20-35 ซม. กาบประดับรูปแถบ ยาว 20-34 ซม. และรูปคล้ายเข็ม ยาว 6-12 ซม.   ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 1.5 ม. ใบรอบโคนต้นรูปแถบ ยาวได้ถึง 50 ซม. ใบตาม
                    ช่อดอกย่อยรูปใบหอก ยาว 1-2 ซม. กาบรูปใบหอก ยาว 1-1.2 ซม. เส้นกาบ  ล�าต้นสั้น ยาว 5-7 ซม. โคนเป็นกาบหุ้มล�าต้น ช่อดอกออกเดี่ยว ๆ ที่ยอด แยกแขนง
                    จ�านวนมาก ดอกย่อยดอกล่าง กาบยาวเท่า ๆ กาบช่อ เส้นกาบ 5-7 เส้น ดอกบน   ใบประดับคล้ายใบ ช่อย่อยมี 1-2 ช่อ ยาวได้ถึง 7 ซม. ก้านช่อยาวประมาณ 3 ซม.
                    มีเส้นกาบ 2 เส้น                                    ดอกจ�านวนมาก มีเมือก ดอกร่วงทิ้งรอยชัดเจน ใบประดับย่อยโปร่งใส รูปไข่
                                                                        ยาวประมาณ 5 มม. ก้านดอกยาว 5-8 มม. กลีบเลี้ยงรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก
                       พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ ไห่หนาน พม่า กัมพูชา เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย   ยาว 5-8 มม. ดอกสีม่วงอ่อนหรือเข้ม รูปไข่กลับ ยาว 0.8-1.5 ซม. กลีบบนขนาด
                    และฟิลิปปินส์ ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ ภาคตะวันตกเฉียงใต้ และ  เล็กกว่ากลีบข้างเล็กน้อย เกสรเพศผู้ส่วนมากมี 2 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 0.6-1.2 ซม.
                    ภาคใต้ ขึ้นตามชายหาด                                กางโค้งออก โคนมีขนเครา อับเรณูสีเทารูปรี ยาวประมาณ 2 มม. เกสรเพศผู้ที่
                                                                        เป็นหมันมี 4 อัน ยาวไม่เท่ากัน ยาว 4-8 มม. มีขนยาวช่วงบน ก้านเกสรเพศเมีย
                       สกุล Spinifex L. มี 4 ชนิด พบตามชายฝั่งทะเลในเอเชีย ออสเตรเลีย หมู่เกาะ
                       แปซิฟิก และนิวซีแลนด์ ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน “spina”   ยาว 3-4 มม. ผลรูปไข่ ยาว 0.5-1 ซม. เมล็ดยาวประมาณ 3 มม.
                       หนาม ตามลักษณะของใบหรือช่อดอก                       พบที่อินเดีย พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ออสเตรเลีย ในไทยพบทุกภาค
                                                                        โดยเฉพาะตามทุ่งหญ้าที่โล่งในป่าผลัดใบหรือป่าสนเขา ความสูงถึงประมาณ 1400 เมตร
                      เอกสารอ้างอิง
                       Chen, S.L. and S.M. Phillips. (2006). Poaceae (Spinifex). In Flora of China Vol.   เอกสารอ้างอิง
                          22: 553.                                         Hong, D. and R.A. DeFilipps. (2000). Commelinaceae. In Flora of China Vol. 24: 25.
                       Gilliland, H.B., R.E. Holttum and N.L. Bor. (1971). A revised Flora of Malaya.   Thitimetharoch, T. (2004). Taxonomic studies of the family Commelinaceae in
                          Vol. 3. Grasses. Botanic Gardens, Government Printing Office, Singapore.  Thailand. PhD Thesis, Khon Kaen University.

                                                                                                                    447






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   447                                                                 3/1/16   6:30 PM
   462   463   464   465   466   467   468   469   470   471   472