Page 462 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 462
หญ้าเทียนหางสั้น
หญ้าเทียนหางสั้น สารานุกรมพืชในประเทศไทย หญ้าน้ำาค้าง, สกุล
Impatiens oreophila Triboun & Suksathan Drosera L.
ไม้ล้มลุก สูง 10-45 ซม. ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปแถบ ยาว 3-12 ซม. วงศ์ Droseraceae
ปลายแหลมเป็นติ่ง โคนเว้ารูปหัวใจหรือโอบล�าต้น แผ่นใบด้านล่างมีนวล โคนก้านใบ พืชล้มลุกกินแมลง ใบอ่อนปลายม้วน ใบและช่อดอกมีต่อมเหนียวหนาแน่น
มีต่อม 1 คู่ ชี้ลง ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุก 2 ดอก ตามซอกใบ ใบประดับ กับดักแมลงขนาดเล็ก ใบเรียงเวียนหรือเรียงเป็นกระจุกแบบกุหลาบซ้อน ช่อดอกแบบ
ขนาดเล็กติดที่โคน ก้านดอกยาว 1.5-4 ซม. มีขนเรียงเป็นแถวทั้งสองด้าน ดอกสีขาว ช่อวงแถวเดี่ยวหรือช่อกระจะ กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 4-5 กลีบ
อมเขียว กลีบเลี้ยง 2 กลีบ รูปแถบ ยาวประมาณ 1 ซม. ปลายมีติ่งแหลม โคนกลีบปาก กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันที่โคน เกสรเพศผู้ 5-15 อัน มี 3-5 คาร์เพล แต่ละคาร์เพล
มีลายร่างแหสีแดง เดือยหนา โค้งงอ ยาว 1.5-2 ซม. ปลายทู่ กลีบดอกกลีบ มีออวุล 3 เม็ดหรือจ�านวนมาก พลาเซนตาตามแนวตะเข็บ เกสรเพศเมีย 3-5 อัน
กลางรูปกลมหรือรูปหัวใจกลับ กว้างประมาณ 8 มม. ยาวประมาณ 7 มม. ปลายมี ผลแห้งแตกตามยาว มี 3-5 ซีก เมล็ดจ�านวนมาก ขนาดเล็ก
ติ่งแหลม เป็นสันตื้น ๆ จรดโคน กลีบปีกแยกกัน กลีบคู่นอกรูปไข่กลับ ยาว 1-1.2 ซม.
โคนด้านในมีสีม่วงแซม กลีบคู่ในคล้ายรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ปลายมน ผลเต่งกลาง สกุล Drosera มีประมาณ 110 ชนิด ส่วนใหญ่พบในออสเตรเลียและนิวซีแลนด์
(ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เทียน, สกุล) ในไทยมี 3 ชนิด และมีหลายชนิดที่นำาเข้ามาเป็นไม้ประดับ ชื่อสกุลมาจากภาษา
พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ขึ้นตามที่โล่ง กรีก “drosos” น้ำาค้าง หมายถึงลักษณะขนที่เป็นต่อมเหนียวเพื่อใช้ในการจับแมลง
บนเขาหินปูน ความสูง 1300-1400 เมตร คล้ายหญ้าเทียน I. chinensis L. แต่เดือย รูปร่างคล้ายหยดน้ำาค้าง
สั้นกว่า และปลายทู่ และคล้ายเทียนทุ่งค่าย I. reticulata Wall. ที่ดอกสีชมพู
พบที่ทุ่งค่าย จังหวัดตรัง และทองผาภูมิ จังหวัดกาญจนบุรี ขึ้นในความสูงระดับต�่า ๆ หญ้าน้ำาค้าง
ค�าระบุชนิดหมายถึง ถิ่นที่อยู่ตามภูเขาสูง Drosera indica L.
เอกสารอ้างอิง ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 30 ซม. ไม่มีหูใบ ใบรูปแถบ ยาวได้ถึง 10 ซม. กว้าง 1-2 มม.
Shimizu, T. (1970). Contributions to the Flora of Southeast Asia II: Impatiens of ปลายใบม้วนงอ ช่อดอกออกตามซอกใบช่วงปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 10 ซม. มีได้ถึง
Thailand and Malaya. Tonan Ajia Kenkyu (Southeast Asian Studies) 8(2): 20 ดอก กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาว 3-5 มม. กลีบดอกสีชมพูหรือสีม่วง รูปไข่กลับ
190-191. ยาวเกือบ 1 ซม. ก้านดอกยาว 0.5-1.5 ซม. เกสรเพศผู้มี 5 อัน ยาวประมาณ 4 มม.
Suksathan, P. and P. Triboun. (2009). Ten new species of Impatiens (Balsami-
naceae) from Thailand. Gardens’ Bulletin Singapore 61(1): 170-172. อับเรณูรูปขอบขนาน เกสรเพศเมีย 3 อัน แต่ละอันแยก 2 แฉกเกือบจรดโคน
ผลมี 3 ซีก รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 3 มม.
พบในเอเชียเขตร้อน ญี่ปุ่น และออสเตรเลีย ในไทยพบกระจายทุกภาค ขึ้น
ตามที่ชื้นแฉะ ที่โล่งและสภาพดินไม่สมบูรณ์ ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Larsen, K. (1987). Droseraceae. In Flora of Thailand Vol. 5(1): 67-69.
หญ้าเทียน: ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก โคนเว้าเป็นติ่ง เกือบไร้ก้าน กลีบปากมีเดือยโค้งงอ กลีบดอกกลีบกลาง
ปลายมีติ่งแหลม กลีบปีกคู่ในขนาดเล็ก คู่นอกแผ่กว้าง (ภาพ: ดอยหัวหมด ตาก - RP)
หญ้าน�้าค้าง: ใบรูปแถบ ปลายใบม้วนงอ มีต่อมเหนียวหนาแน่น ช่อดอกแบบช่อวงแถวเดี่ยว กลีบดอกรูปไข่กลับ
สีชมพูหรือสีม่วง เกสรเพศผู้ 5 อัน เกสรเพศเมีย 3 อัน แยก 2 แฉกเกือบจรดโคน (ภาพ: วัดจันทร์ เชียงใหม่ - PK)
หญ้านิ้วมือผี
Adenia pinnatisecta (Craib) Craib
วงศ์ Passifloraceae
ชื่อพ้อง Modecca pinnatisecta Craib, Adenia saxicola Craib
ไม้เถา ยาวได้ถึง 6 ม. ใบส่วนมากแฉกลึก 2-7 พู กว้าง 2.5-27 ซม. ยาว
3-20 ซม. พูรูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาวได้ถึง 14 ซม. โคนตัดหรือเว้าตื้น มีต่อม
หญ้าเทียนหางสั้น: ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก โคนเว้ารูปหัวใจหรือโอบล�าต้น ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุก 2 ดอก 2 ต่อม ก้านช่อดอกยาว 3-15 ซม. ช่อดอกเพศผู้ดอกจ�านวนมาก ช่อดอกเพศเมีย
ตามซอกใบ เดือยโค้งงอ ปลายทู่ โคนกลีบปากมีลายร่างแหสีแดง (ภาพ: เขาเรดาร์ กาญจนบุรี - PK) มี 2-5 ดอก มือจับ 3 อัน ยาวได้ถึง 15 ซม. ดอกเพศผู้ ก้านดอกยาว 0.5-2 ซม.
ดอกรูประฆัง ยาว 1.2-2 ซม. รวมก้านต่อ (stipe) ฐานดอกสั้น กลีบเลี้ยงรูปใบหอก
ยาวได้ถึง 1.3 ซม. กลีบดอกรูปไข่ ปลายมน ยาว 0.6-1 ซม. เส้นกลีบ 3 เส้น มี
ก้านกลีบ ขอบจักชายครุย เกสรเพศผู้ยาว 3-5.5 มม. อับเรณูยาว 2-4 มม.
ปลายมีติ่ง กะบังมีขนบาง ดอกเพศเมียคล้ายดอกเพศผู้ ดอกและก้านดอกสั้น
กว่าเล็กน้อย รังไข่มี 3-6 เหลี่ยม มีก้านสั้น ๆ ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน เชื่อมติดกัน
ที่โคน ยอดเกสรกลม มีปุ่มคล้ายขนแกะ ผลมี 1-3 ผลในแต่ละช่อ รูปรี ยาว 3-4 ซม.
ก้านชูยาว 0.5-1 ซม. เมล็ดรูปไข่ ยาว 5-8 มม. มีรอยบุ๋มกระจาย (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่
ปากกา, สกุล)
พบที่พม่าและลาว ในไทยพบทางภาคเหนือที่เชียงใหม่ ล�าปาง ล�าพูน สุโขทัย ตาก
เทียนทุ่งค่าย: ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก เกือบไร้ก้าน ดอกออกเดี่ยว ๆ สีชมพู (ภาพ: ทุ่งค่าย ตรัง - SSi) และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา
442
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 442 3/1/16 6:29 PM