Page 465 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 465

หญ้าผักเบี้ย, สกุล                                             สารานุกรมพืชในประเทศไทย  หญ้าพันเกลียว
                    Lobelia L.
                    วงศ์ Campanulaceae
                       ไม้ล้มลุกหรือไม้พุ่ม ไม่มีหูใบ ใบเรียงเวียนหรือเรียงสลับระนาบเดียว ดอกออก
                    เดี่ยว ๆ หรือเป็นช่อแบบช่อกระจะ ใบประดับรูปแถบขนาดเล็กหรือไม่มี กลีบเลี้ยง
                    4-5 กลีบ ติดทน ดอกสมมาตรด้านข้างหรือรูปปากเปิด หลอดกลีบดอกสั้น มี
                    4-5 กลีบ เกสรเพศผู้ 4-5 อัน เชื่อมติดกันบางส่วน หุ้มเกสรเพศเมีย ปลายอับเรณู
                    ส่วนมากมีขนเครา รังไข่ใต้วงกลีบ มี 2 ช่อง ยอดเกสรเพศเมียจัก 2 พู ผลแห้งแตก
                    ที่ปลายเป็น 2 ซีก หรือผลสด เมล็ดขนาดเล็ก จ�านวนมาก

                       สกุล Lobelia มีประมาณ 400 ชนิด ส่วนมากพบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน พบน้อย
                       ในเขตอบอุ่น ในไทยมี 14 ชนิด ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวเบลเยียม
                       Mathias de Lobel หรือ Matthaeus Lobelius (1538-1616)
                                                                          หญ้าผักเบี้ย: L. thorelii มีขนยาวประปราย ดอกออกเดี่ยว ๆ ก้านดอกยาว ดอกรูปปากเปิด สีม่วงหรือสีขาวล้วน
                                                                        กลีบบน 2 กลีบ แฉกลึกจรดโคน สั้นกว่ากลีบล่าง กลีบล่าง 3 กลีบ (ภาพ: บุรีรัมย์ - RP)
                    หญ้าผักเบี้ย
                    Lobelia heyneana Schult.                            หญ้าฝอย
                       ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 40 ซม. ล�าต้นเป็นสามเหลี่ยมคล้ายปีก ใบเรียงเวียน รูปไข่หรือ  Utricularia hirta Klein ex Link
                    รูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัด ยาว 0.8-3 ซม. โคนสอบเรียวจรดก้านใบ ใบช่วงปลายกิ่ง  วงศ์ Lentibulariaceae
                    ขนาดเล็กและเรียวแคบ ขอบจักซี่ฟันตื้น ๆ ก้านใบยาว 1-4 มม. ใบประดับย่อย 2 อัน   ไม้ล้มลุก มีขนยาวหนาแน่นตามช่อดอก ก้านดอก ใบประดับ ใบประดับย่อย และ
                    ขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว 0.5-2 ซม. ฐานดอกรูปถ้วย ยาว 1-2 มม. กลีบเลี้ยง   กลีบเลี้ยง ขนมีหลายเซลล์ ส่วนมากยาวได้ถึง 1 มม. หรือ 2-4 มม. ใบรูปไข่กลับหรือ
                    5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมเรียวแคบ ยาว 2-3 มม. บานออก ดอกสีม่วงอ่อน ๆ หรือขาว   รูปใบพาย ยาว 1-2 ซม. ก้านใบส่วนมากยาวกว่าแผ่นใบ ช่วงออกดอกไม่มีใบ
                    กลีบล่างมีปื้นสีม่วง ด้านในมีขนละเอียด กลีบบน 2 กลีบ แฉกลึกจรดโคน รูปแถบ   กับดักแมลงเป็นกระเปาะกลมขนาดเล็กมาก ส่วนมากติดบนใบ ช่อดอกออกเดี่ยว ๆ
                    ตั้งขึ้น ยาวประมาณ 1 มม. กลีบล่าง 3 กลีบ รูปรีกว้าง ยาว 3-5 มม. ปลายอับเรณู   แบบช่อกระจะตั้งตรง สูงได้ถึง 30 ซม. มี 1-6 ดอก ใบประดับรูปไข่ ยาวประมาณ
                    2 อัน มีขนเครา ผลแห้งแตก รูปขอบขนาน ยาว 4-5 มม. มีสันตื้น ๆ เมล็ดผิวเรียบ  1 มม. ใบประดับย่อยติดที่โคนขนาดเล็ก ก้านดอกยาว 1-3 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่
                       พบที่แอฟริกา อินเดีย ภูฏาน ศรีลังกา จีนตอนใต้ ไต้หวัน พม่า ภูมิภาคอินโดจีน   ยาว 2-7 มม. ดอกสีม่วงหรืออมน�้าเงิน ยาว 0.3-1 ซม. กลีบบนขนาดเล็กกว่า
                    ฟิลิปปินส์ และหมู่เกาะซุนดาน้อย ในไทยพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  กลีบล่างมาก ปลายกลีบมักเว้าตื้น กลีบล่างรูปไข่กว้าง ปลายเว้าตื้น ๆ โคนกลีบ
                    ที่เลย และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ขึ้นตามป่าสนเขา ป่าดิบเขา หรือบน  ล่างสีขาวมีจุดสีเหลือง เดือยรูปลิ่ม ยาวประมาณ 4 มม. มีขนยาว ผลรูปรีกว้าง
                    เขาหินปูน ความสูง 750-1700 เมตร                     ยาวประมาณ 2 มม. ผิวเมล็ดเป็นร่างแห (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ สร้อยสุวรรณา, สกุล)
                                                                           พบที่อินเดีย บังกลาเทศ ศรีลังกา ภูมิภาคอินโดจีน และบอร์เนียว ในไทยพบ
                    หญ้าผักเบี้ย                                        กระจายห่าง ๆ ทุกภาค ขึ้นตามที่ชื้นแฉะ ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร
                    Lobelia thorelii E. Wimm.
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                       ไม้ล้มลุก สูง 5-20 ซม. มีขนยาวประปรายตามกิ่ง แผ่นใบ ฐานดอก และก้านดอก   Parnell, J. (2011). Lentibulariaceae. In Flora of Thailand Vol. 11(1): 30-31.
                    ใบเรียงเวียน รูปรีกว้าง ยาวได้ถึง 2 ซม. โคนตัด สอบเรียวแคบ ใบช่วงปลายกิ่ง
                    ขนาดเล็กและแคบกว่า ขอบจักซี่ฟัน ก้านใบยาวประมาณ 2 มม. ดอกออกเดี่ยว ๆ
                    ตามซอกใบ ใบประดับย่อย 2 อัน รูปแถบ ยาวประมาณ 2 มม. ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว
                    1.5-6 ซม. ฐานดอกรูปถ้วยสั้น ๆ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมแคบ ยาวเท่า ๆ หรือ
                    ยาวกว่าฐานดอกเล็กน้อย ดอกสีม่วงหรือสีขาวล้วน กลีบยาว 0.7-1 ซม. กลีบบน
                    2 กลีบ แฉกลึกจรดโคน รูปรีแคบ ตั้งขึ้น สั้นกว่ากลีบล่าง กลีบล่าง 3 กลีบ รูปรีกว้าง
                    ปลายมีติ่งแหลม รังไข่มีขนหนาแน่น ผลแห้งแตก รูปขอบขนาน ยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง
                       พบที่ลาว ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และภาคตะวันออกของไทย ขึ้นหนาแน่น
                    ตามที่โล่ง ความสูง 100-300 เมตร ทั้งต้นกินเป็นผักสด บางครั้งเรียกว่า ผักลืมผัว
                    อนึ่ง ใน Flora of China ระบุว่าเป็นชื่อพ้องของ L. terminalis C. B. Clarke   หญ้าฝอย: มีขนยาวหนาแน่น ดอกสีม่วงหรืออมน�้าเงิน กลีบบนขนาดเล็กกว่ากลีบล่างมาก ปลายกลีบมักเว้าตื้น
                    ซึ่งกลีบล่างและกลีบบนขนาดเท่า ๆ กัน และเป็นสีเดียวกัน  กลีบล่างรูปไข่กว้าง ปลายเว้าตื้น ๆ โคนกลีบล่างสีขาวมีจุดสีเหลือง (ภาพ: ผาแต้ม อุบลราชธานี - PK)
                      เอกสารอ้างอิง                                     หญ้าพันเกลียว
                       de Wilde, W.J.J.O. and B.E.E. Duyfjes. (2014). Campanulaceae. In Flora of
                          Thailand Vol. 11(4): 517-537.                 Ceropegia thailandica Meve
                       Hong, D. and T.G. Lammers. (2011). Campanulaceae (Lobelia). In Flora of   วงศ์ Apocynaceae
                          China Vol. 19: 554-556, 558.
                                                                           ไม้ล้มลุกคล้ายหญ้า หัวใต้ดินเส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2 ซม. รากยาวได้ถึง 10 ซม.
                                                                        ล�าต้นสูง 10-30 ซม. แตกกิ่ง มีขนประปรายตามข้อ ใบรูปแถบ ยาว 3.5-7 ซม.
                                                                        ปลายแหลม โคนสอบ ไร้ก้าน ช่อดอกแบบช่อกระจุกมีดอกเดียว ก้านช่อยาว 0.8-1 ซม.
                                                                        ใบประดับรูปลิ่มแคบ ยาวประมาณ 1 มม. ก้านดอกยาว 4-8 มม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอก
                                                                        หรือรูปแถบ ยาว 7-8 มม. กลีบดอกคล้ายรูปลิ่มแคบ หลอดกลีบรูปทรงกระบอก สีครีม
                                                                        มีปื้นสีน�้าตาลกระจาย ยาว 1-1.2 ซม. ปลายคอด ด้านในมีขน กลีบบิดเป็นเกลียว
                                                                        สีเขียวครีมอมน�้าตาล ยาว 4-5.5 ซม. ปลายเรียวแหลม โคนกลีบเป็นติ่ง พับงอ มีขน
                                                                        ก�ามะหยี่สีม่วงด�า ขอบกลีบมีขนครุย ปลายขนเป็นต่อมคล้ายรูปกระบอง มีกะบัง
                                                                        รอบเส้าเกสร สีแดงอมม่วง สูงประมาณ 4 มม. กลีบกะบังด้านนอกยาวประมาณ
                                                                        0.7 มม. ด้านในมีขน กลีบกะบังด้านในเกลี้ยง โค้งงอ ยาว 3-3.5 มม. อับเรณูอยู่เหนือ
                      หญ้าผักเบี้ย: L. heyneana ดอกสีม่วงอ่อน ๆ กลีบล่างมีปื้นสีม่วง กลีบเลี้ยงติดทน (ภาพ: ดอยสุเทพ เชียงใหม่ - BD)  ยอดเกสรเพศเมีย เรณูสีเหลือง รังไข่เกลี้ยง (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เทพธาโร, สกุล)

                                                                                                                    445






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   445                                                                 3/1/16   6:30 PM
   460   461   462   463   464   465   466   467   468   469   470