Page 466 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 466

หญ้าแม่มด
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                   พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนที่ภูวัว จังหวัด  ใบประดับย่อยรูปลิ่มแคบ ยาวประมาณ 2 มม. กลีบเลี้ยงยาว 5-8 มม. มีสัน 10 สัน
                บึงกาฬ ขึ้นตามทุ่งหญ้าที่ราบบนยอดภูเขาหินทรายชายป่าดิบแล้ง ความสูงประมาณ   กลีบแฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง รูปใบหอก ปลายแหลมยาว ดอกส่วนมากสีเหลือง
                300 เมตร คล้ายกับ ว่านสามพี่น้องภูพาน C. suddeei Kidyoo พบที่ภูพาน จังหวัด  หลอดกลีบดอกยาว 1-1.3 ซม. ด้านนอกมีขนต่อม กลีบบนรูปรีกว้าง ยาวประมาณ
                สกลนคร หลอดกลีบเรียวแคบกว่า โคนกลีบเป็นติ่ง ไม่มีขนก�ามะหยี่สีม่วงด�า  3 มม. กลีบล่างรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 5 มม. ขอบมีขน ผลรูปไข่หรือเกือบกลม
                                                                     ยาว 2-3 มม. มีกลีบเลี้ยงหุ้ม
                  เอกสารอ้างอิง
                   Kidyoo, M. (2014). Ceropegia suddeei sp. nov. (Apocynaceae, Asclepiadoideae)   พบที่แอฟริกา และเอเชียเขตร้อน ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่ง ทุ่งหญ้า
                      from northeastern Thailand. Nordic Journal of Botany 32(5): 569-574. doi:   หรือลานหิน ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร ทั้งต้นมีสรรพคุณฆ่าพยาธิ
                      10.1111/njb.00418
                   Meve, U. (2009). Ceropegia thailandica (Asclepiadoideae-Ceropegieae), a
                      spectacular new Thai species. Bradleya 27: 161-164.  หญ้าแม่มดใหญ่
                                                                     Striga masuria (Buch.-Ham. ex Benth.) Benth.
                                                                      ชื่อพ้อง Buchnera masuria Buch.-Ham. ex Benth.
                                                                       ไม้ล้มลุก สูง 30-80 ซม. มีขนหยาบทั่วไป บางครั้งแตกกิ่ง ใบรูปแถบ ยาว
                                                                     1.5-4 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ ดูคล้ายช่อเชิงลด ใบประดับคล้ายใบ ยาว 0.3-1 ซม.
                                                                     ใบประดับย่อยรูปลิ่มแคบ ยาว 3-5 มม. ก้านดอกสั้น กลีบเลี้ยงยาว 0.8-1.2 ซม.
                                                                     ขยายเล็กน้อยในผล มีสัน 15 สัน กลีบแฉกลึกเกินกึ่งหนึ่ง รูปใบหอก ปลายแหลมยาว
                                                                     ดอกส่วนมากสีชมพูหรือขาว หลอดกลีบดอกยาว 2-2.5 ซม. ด้านนอกมีขนต่อม
                                                                     กระจาย กลีบบนรูปรีกว้าง กว้างประมาณ 6 มม. ยาวประมาณ 5 มม. กลีบล่างรูป
                                                                     ขอบขนานหรือรูปใบหอกกลับ ยาว 1-1.2 ซม. ขอบมีขนยาว ผลรูปไข่หรือรูปขอบขนาน
                                                                     ยาว 6-7 มม. มีกลีบเลี้ยงหุ้ม
                                                                       พบที่อินเดีย เนปาล จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และฟิลิปปินส์ ในไทยพบ
                                                                     กระจายทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกที่ชัยภูมิ ภาคตะวันออกเฉียงใต้ที่ปราจีนบุรี
                  หญ้าพันเกลียว: ไม้ล้มลุกคล้ายหญ้า กลีบดอกบิดเป็นเกลียว โคนเป็นติ่ง มีขนก�ามะหยี่สีม่วงด�า (ภาพ: ภูวัว บึงกาฬ - PK)  และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ขึ้นตามทุ่งหญ้า ชายป่าเบญจพรรณ หรือ
                                                                     เขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1100 เมตร
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Hong, D., H. Yang, C.L. Jin, M.A. Fischer, N.H. Holmgren and R.R. Mill. (1998).
                                                                          Scrophulariaceae. In Flora of China Vol. 18: 88.
                                                                       Yamazaki, T. (1990). Scrophulariaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(2): 231-233.












                  ว่านสามพี่น้องภูพาน: หลอดกลีบเรียวยาว โคนเป็นติ่งไม่มีขนก�ามะหยี่สีม่วงด�า (ภาพ: ภูพาน สกลนคร - PK)
                หญ้าแม่มด, สกุล
                Striga Lour.
                วงศ์ Orobanchaceae
                                                                      หญ้าแม่มด: ใบรูปแถบ หรือลดรูปคล้ายเกล็ด ดอกสีเหลือง (ภาพซ้าย: ระนอง - RP); หญ้าแม่มดใหญ่: ใบรูปแถบ
                   ไม้ล้มลุกกึ่งเบียนรากพืชอื่น ล�าต้นเป็นเหลี่ยม ใบเรียงตรงข้ามช่วงโคน เรียงเวียน  ดอกออกเดี่ยว ๆ ดูคล้ายช่อเชิงลด กลีบเลี้ยงแฉกลึกเกินกึ่งหนึ่ง ดอกสีชมพู (ภาพขวา: กาญจนบุรี - RP)
                ช่วงบน เรียวแคบ บางครั้งลดรูปคล้ายเกล็ด ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบหรือ
                คล้ายช่อเชิงลด ใบประดับคล้ายใบ ใบประดับย่อย 2 ใบ ติดที่โคนกลีบเลี้ยง   หญ้ารักนา, สกุล
                กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด มีสันตามยาว ปลายแยกเป็น 5 กลีบ กลีบดอก  Ludwigia L.
                รูปปากเปิด หลอดกลีบโค้ง กลีบบน 2 กลีบ สั้นกว่ากลีบล่าง กลีบล่าง 3 กลีบ   วงศ์ Onagraceae
                เกสรเพศผู้ 2 คู่ ยาวไม่เท่ากัน อับเรณูมีช่องเดียว ติดด้านหลัง รังไข่มี 2 ช่อง เกลี้ยง
                ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลแห้งแตก เมล็ดขนาดเล็ก จ�านวนมาก มีริ้วตามยาว  ไม้ล้มลุกหรือไม้พุ่มเตี้ย บางครั้งทอดนอนมีรากตามข้อ หรือเป็นไม้น�้ามีรากหายใจ
                                                                     คล้ายฟองน�้า หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ
                   สกุล Striga เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Scrophulariaceae มีประมาณ 40 ชนิด ส่วนมาก  หรือออกที่ปลายกิ่งเป็นช่อแบบช่อกระจะหรือช่อเชิงลด กลีบเลี้ยงติดทน ส่วนมาก
                   พบในแอฟริกา พบประปรายในเอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทย  มี 4-5 กลีบ กลีบดอกส่วนมากจ�านวนเท่ากลีบเลี้ยง เกสรเพศผู้จ�านวนเท่าหรือ
                   มี 2 ชนิด ชื่อสกุลเป็นภาษาละติน หมายถึงมีริ้วหรือสันตามลักษณะกลีบเลี้ยง  เป็นสองเท่าของกลีบเลี้ยง อับเรณูส่วนมากติดไหวได้ รังไข่ใต้วงกลีบ จ�านวนช่อง
                                                                     ส่วนมากเท่าจ�านวนกลีบเลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียมีอันเดียว ยอดเกสรเป็นตุ่ม เรียบ
                หญ้าแม่มด                                            หรือจักเป็นพู ผลแห้งแตก เมล็ดขนาดเล็ก จ�านวนมาก เรียงแถวเดียวหรือหลายแถว
                Striga asiatica (L.) Kuntze                          ไม่มีกระจุกขน
                  ชื่อพ้อง Buchnera asiatica L.                        สกุล Ludwigia มี 82 ชนิด พบทั่วไปทั้งในเขตร้อนและเขตอบอุ่น ในไทยมี 6 ชนิด
                   ไม้ล้มลุก สูง 10-30 ซม. มีขนหยาบทั่วไป ส่วนมากไม่แตกกิ่ง ใบรูปแถบ ยาว   หลายชนิดเป็นวัชพืช และหลายชนิดพบเป็นไม้น้ำาประดับในตู้ปลา ชื่อสกุลตั้ง
                0.5-2 ซม. หรือลดรูป ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือคล้ายช่อเชิงลด มีใบประดับคล้ายใบ   ตามนักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน Christian Gottlieb Ludwig (1709-1773)


                446






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   446                                                                 3/1/16   6:30 PM
   461   462   463   464   465   466   467   468   469   470   471