Page 469 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 469

หนวดปลาดุก สารานุกรมพืชในประเทศไทย  หนวดเสือ
                                                                        Polyalthia stenopetala (Hook. f. & Thomson) Finet & Gagnep.
                                                                        วงศ์ Annonaceae
                                                                          ชื่อพ้อง Unona stenopetala Hook. f. & Thomson
                                                                           ไม้ต้น สูง 6-10 ซม. มีขนสีน�้าตาลแดงหนาแน่นตามกิ่งอ่อน ก้านใบ เส้นแขนงใบ
                                                                        และเส้นกลางใบด้านล่าง ก้านดอก และผล ใบรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ หรือ
                                                                        รูปใบหอกกลับ ยาว 9-23 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนรูปลิ่ม มน หรือเว้าตื้น
                                                                        ก้านใบยาว 3-4 มม. ดอกออกเป็นกระจุกแน่นตามล�าต้นและกิ่ง ก้านดอกยาว
                      หญ้าเหล็กนกคุ่ม: ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงเรียงรอบแกน (ภาพ: เขาหลวง นครศรีธรรมราช - SSi)  6-7 มม. ใบประดับขนาดเล็กติดที่โคน กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาว 1-1.5 ซม. มีขน
                                                                        ทั้งสองด้าน กลางกลีบเป็นสันนูน ดอกสีแดงหรือน�้าตาลแดง กลีบรูปแถบ ยาวเท่า ๆ
                    หญ้าเหลี่ยม, สกุล                                   กัน ยาว 8-9.5 ซม. มีขนประปราย เกสรเพศผู้ยาวประมาณ 2 มม. มีรยางค์สั้น ๆ
                    Exacum L.                                           มี 4-7 คาร์เพล มีขนยาว เกสรเพศเมียไร้ก้าน ผลย่อยมี 1-6 ผล รูปรีกว้างเกือบกลม
                    วงศ์ Gentianaceae                                   เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 ซม. ผลแก่เกลี้ยง ก้านผลหนา ยาว 2-6 มม. มี 1-5 เมล็ด
                       ไม้ล้มลุก หรือกินซาก ล�าต้นมักเป็นเหลี่ยม ใบเรียงตรงข้าม เส้นโคนใบ 3-5 เส้น   เว้าทั้งสองด้าน มีริ้ว (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กระเจียน, สกุล)
                    ช่อดอกแบบช่อกระจุกหรือช่อกระจุกแยกแขนง ออกตามปลายกิ่งหรือซอกใบ   พบที่คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว และภาคใต้ตอนล่างของไทยที่ตรัง ปัตตานี ยะลา
                    กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีจ�านวนอย่างละ 4-5 กลีบ กลีบเลี้ยงแยกเกือบจรดโคน   นราธิวาส ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 500 เมตร
                    มีครีบเป็นปีก กลีบดอกเชื่อมติดกันเป็นหลอด กลีบดอกยาวกว่าหลอดกลีบดอก
                    เกสรเพศผู้มี 4-5 อัน ติดภายในหลอดกลีบดอกระหว่างกลีบดอก อับเรณูมีรูเปิด  เอกสารอ้างอิง
                                                                           Sinclair, J. (1955). A revision of the Malayan Annonaceae. Gardens’ Bulletin
                    ที่ปลาย ไม่มีจานฐานดอก รังไข่มี 2 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยอดเกสร  Singapore 14: 285.
                    เป็นตุ่ม บางครั้งจัก 2 พู ผลแบบผลแห้งแตก เมล็ดจ�านวนมาก ขนาดเล็ก  Turner, I.M. (2014). Annonaceae (Polyalthia). In Tree Flora of Sabah and Sarawak
                                                                              Vol. 8: 162.
                       สกุล Exacum มีประมาณ 40 ชนิด พบในแอฟริกาและเอเชียเขตร้อน ในไทยมี
                       ประมาณ 5 ชนิด รวมถึงสกุล Cotylanthera ที่ปัจจุบันถูกยุบรวมกัน และมีที่
                       นำาเข้ามาปลูกเป็นไม้ประดับ คือ ม่วงเทพรัตน์ E. affine Balf. f. ex Regel ชื่อสกุล
                       มาจากภาษาละติน “exago” ขับออก หมายถึงเป็นพืชสมุนไพรมีสรรพคุณขับพิษ

                    หญ้าเหลี่ยม
                    Exacum tetragonum Roxb.
                       ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 1 ม. แตกกิ่งต�่า ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 2.5-16 ซม.
                    ก้านใบสั้นหรือเกือบไร้ก้าน ช่อดอกแยกแขนง ก้านดอกยาวได้ถึง 1 ซม. ใบประดับ
                    คล้ายใบ รูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาวได้ถึง 2.5 ซม. ใบประดับย่อยรูปแถบ ยาวได้ถึง
                    1 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกอย่างละ 4 กลีบ กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาว 5-6 มม.
                    ปลายแหลมยาว มีครีบเป็นปีกกว้างประมาณ 1 มม. ดอกสีขาวอมชมพูหรือม่วง
                    โคนมีสีเหลืองแต้ม หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 5 มม. กลีบรูปรีหรือรูปขอบขนาน
                                                                          หนวดปลาดุก: ดอกออกเป็นกระจุกแน่นตามล�าต้น กลีบดอกรูปแถบ ยาวเท่าๆ กัน ผลย่อยรูปรีกว้างเกือบกลม
                    ยาวได้ถึง 1.3 ซม. ปลายแหลมยาว เกสรเพศผู้ 4 อัน ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณูโค้ง   มีขนสีน�้าตาลหนาแน่น (ภาพ: เบตง ยะลา; ภาพดอก - VC, ภาพผล - RP)
                    ยาว 6-7 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาวกว่ารังไข่ประมาณ 2 เท่า ยาว 1-1.2 ซม.
                    ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลรูปรีกว้าง ยาวประมาณ 3.5 มม.      หนวดเสือ
                       พบที่อินเดีย เนปาล จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน ฟิลิปปินส์ นิวกินี และ  Tacca plantaginea (Hance) Drenth
                    ออสเตรเลีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามทุ่งหญ้า และป่าสนเขา ความสูงถึงประมาณ   วงศ์ Dioscoreaceae
                    1000 เมตร มีสรรพคุณแก้ไข้ และท้องไส้ปั่นป่วน
                                                                          ชื่อพ้อง Schizocapsa plantaginea Hance, S. guangxiensis P. P. Ling & C. T. Ting
                      เอกสารอ้างอิง                                        ไม้ล้มลุก เหง้ารูปทรงกระบอกสั้น ๆ ใบรูปใบหอก ยาว 10-35 ซม. ปลายแหลมยาว
                       Ho, T.N. and J.S. Pringle. (1995). Gentianaceae. In Flora of China Vol. 16: 2-3.  โคนเบี้ยว เรียวสอบตามก้านใบคล้ายปีกจรดกาบ ก้านใบยาว 5-30 ซม. ช่อดอก
                       Ubolcholaket, A. (1987). Gentianaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(1): 79-81.  แบบช่อซี่ร่ม มี 1-6 ช่อ ช่อสั้นหรือยาวได้ถึง 25 ซม. แต่ละช่อมี 6-20 ดอก กลีบประดับ
                                                                        2 คู่ เรียงตรงข้ามสลับฉาก รูปไข่แกมรูปสามเหลี่ยม ปลายแหลม สีเขียวอมขาว
                                                                        มีสีม่วงอ่อนแซม คู่นอกยาว 1-3 ซม. คู่ในยาว 0.5-2.5 ซม. กลีบประดับรูปเส้นด้าย
                                                                        มี 6-20 อัน สีอ่อนกว่ากลีบประดับ ยาวได้ถึง 8 ซม. ดอกสีเขียวขาวอมม่วง
                                                                        หลอดกลีบสั้น กลีบรวม 6 กลีบ ปลายงุ้ม ติดทน วงนอกรูปสามเหลี่ยมหรือรูปใบหอก
                                                                        ยาว 0.5-1 ซม. กลีบวงในรูปไข่ ยาวประมาณ 5 มม. ผลรูปรีแกมสามเหลี่ยม ยาวประมาณ
                                                                        0.6-1 ซม. แห้งแตกเป็น 3 ส่วน จรดโคน เมล็ดรูปขอบขนานคล้ายครึ่งวงกลม (ดูข้อมูล
                                                                        เพิ่มเติมที่ ว่านค้างคาว, สกุล)
                                                                           พบที่จีนตอนใต้ เวียดนาม และลาว ในไทยพบกระจายห่าง ๆ แทบทุกภาค
                                                                        ยกเว้นภาคใต้ และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นริมล�าธารหรือที่ชื้นแฉะ ในป่าดิบแล้ง
                                                                        และป่าเบญจพรรณ ความสูง 100-600 เมตร ทั้งต้นมีสรรพคุณลดการอักเสบ

                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Phengklai, C. (1993). Taccaceae (Schizocapsa plantaginea). In Flora of Thailand
                                                                              Vol. 6(1): 5.
                      หญ้าเหลี่ยม: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 4 กลีบ ดอกสีขาวอมชมพู  Ting, C.C. and K. Larsen. (2000). Taccaceae (Schizocapsa plantaginea). In
                    หรือม่วง เกสรเพศผู้ 4 อัน ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณูโค้ง (ภาพซ้าย: อุ้มผาง ตาก - RP; ภาพขวา: แม่ฮ่องสอน - PK)  Flora of China Vol. 24: 274-275.

                                                                                                                    449






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   449                                                                 3/1/16   6:31 PM
   464   465   466   467   468   469   470   471   472   473   474