Page 468 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 468
หญ้าหลังเม่น
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
ปลายมีขนด้านข้าง เส้นกาบ 2 เส้น ดอกบน 2 ดอก เป็นหมัน กาบบาง ปลาย
กาบมีขนด้านข้าง ยาวประมาณ 3 มม. กาบล่างรูปใบหอก มีขนต่อมบนเส้นกาบ เส้น
กาบ 7 เส้น กาบบนรูปเรือ เส้นกาบ 2 เส้น
พบในแอฟริกา อินเดีย ศรีลังกา เนปาล ภูฏาน จีน พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและ
มาเลเซีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทุกภาค เป็นวัชพืช ความสูง
ถึงประมาณ 2000 เมตร
สกุล Centotheca Desv. มี 3 ชนิด พบในแอฟริกา เอเชียเขตร้อน ออสเตรเลีย
และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “kenteo”
หญ้าหงอนเหงือก: ช่อดอกแบบช่อวงแถวเดี่ยว แยกแขนง ดอกสีม่วงอ่อนหรือเข้ม กลีบบนขนาดเล็กกว่ากลีบข้าง หนาม และ “theke” กาบ ตามลักษณะกาบล่างช่อดอกย่อย
โคนก้านชูอับเรณูมีขนเครา (ภาพดอกสีม่วงอ่อน: ท่าสองยาง ตาก, ภาพดอกสีม่วงเข้ม: แม่สะนาม เชียงใหม่; - RP)
เอกสารอ้างอิง
หญ้าหลังเม่น Gilliland, H.B., R.E. Holttum and N.L. Bor. (1971). A revised Flora of Malaya.
Vol. 3. Grasses. Botanic Gardens, Government Printing Office, Singapore.
Pseudechinolaena polystachya (Kunth) Stapf Liu, L. and S.M. Phillips. (2006). Poaceae (Centotheca). In Flora of China Vol.
วงศ์ Poaceae 22: 445.
ชื่อพ้อง Echinolaena polystachya Kunth Norsaengsri, M. and P. Chantaranothai. (2008). The tribe Centotheceae (Poaceae)
in Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 36: 53-55.
หญ้าล้มลุกฤดูเดียว มีไหล ล�าต้นทอดนอน ยาว 20-40 ซม. ข้อบวมพอง มีขน
ใบรูปแถบ ยาว 2-8 ซม. โคนสอบเรียว แผ่นใบมีขน กาบใบสั้นกว่าปล้อง ยาว
2-3 ซม. ขอบมีขน ลิ้นกาบบาง ขอบมีขนครุย ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงแคบ ๆ
ยาว 13-16 ซม. แกนช่อแบน ก้านช่อยาว 13-14 ซม. ช่อดอกย่อยออกเดี่ยว ๆ
เรียงเวียน รูปใบหอกแกมรูปไข่ แบนด้านข้าง ยาวประมาณ 4 มม. มีก้านช่อสั้น ๆ
กาบล่างรูปใบหอก บาง มีขนสั้น เส้นกาบ 3 เส้น กาบบนหนา มีขนต่อม เส้นกาบ
5 เส้น ดอกย่อยดอกล่างเพศผู้ กาบยาวประมาณ 4 มม. กาบล่างบาง รูปขอบขนาน
มีขนต่อม เส้นกาบ 5 เส้น กาบบนบาง รูปใบหอก ดอกบนสมบูรณ์เพศ กาบรูปไข่
แกมรูปขอบขนาน หนา เป็นมันวาว เส้นกาบ 3 เส้น กาบล่างยาวประมาณ 2.5 มม.
กาบบนยาวประมาณ 2.2 มม.
พบในเขตร้อน ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่ชื้นแฉะ ชายป่าหรือในป่าดิบแล้ง
ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1800 เมตร
สกุล Pseudechinolaena Stapf มีประมาณ 6 ชนิด ในไทยพบชนิดเดียว ชื่อสกุล
หมายถึงคล้ายหญ้าในสกุล Echinolaena หญ้าเหนียวหมา: ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ช่อแขนงลดรูปคล้ายช่อกระจะ ช่อดอกย่อยออกเดี่ยว ๆ เรียงเวียน มี
ก้านช่อ ปลายกาบมีขนด้านข้าง (ภาพ: แก่งกระจาน เพชรบุรี - SSi)
เอกสารอ้างอิง
Chen, S.L. and S.M. Phillips. (2006). Poaceae (Pseudechinolaena). In Flora of หญ้าเหล็กนกคุ่ม
China Vol. 22: 500-501.
Gilliland, H.B., R.E. Holttum and N.L. Bor. (1971). A revised Flora of Malaya. Scrotochloa urceolata (Roxb.) Judz.
Vol. 3. Grasses. Botanic Gardens, Government Printing Office, Singapore. วงศ์ Poaceae
ชื่อพ้อง Pharus urceolatus Roxb., Leptaspis urceolata (Roxb.) R. Br.
หญ้าหลายฤดู แยกเพศร่วมต้น สูง 30-100 ซม. กาบใบยาวกว่าปล้อง ใบรูป
ใบหอกแกมรูปไข่กลับ ยาว 12-30 ซม. ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่ม เส้นแขนงใบย่อย
เรียงตามขวาง ก้านใบเทียมยาว 2-2.5 ซม. ลิ้นกาบบาง ขนาดเล็ก ช่อดอกแบบ
ช่อแยกแขนงรอบแกน ช่อย่อยออกเดี่ยว ๆ เรียงเวียน ช่อดอกเพศเมียอยู่ช่วงโคน
รูปคล้ายคนโท ยาว 6-7.5.มม. ก้านช่อยาว 5-9 มม. กาบหนา กาบล่างรูปไข่แคบ
ยาวประมาณ 5 มม. กาบบนรูปไข่ ยาวประมาณ 3.5 มม. มีดอกย่อยดอกเดียว
กาบล่างหนา รูปโถ หุ้มกาบบน ยาว 6-9 มม. มีช่องเปิด มีขนรูปตะขอ กาบบน
รูปแถบ ยาวประมาณ 9 มม. เส้นกาบ 2 เส้น ช่อดอกย่อยเพศผู้อยู่ช่วงปลายช่อ
รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 4-6 มม. กาบบาง รูปใบหอก ปลายมน เส้นกาบ
หญ้าหลังเม่น: ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงแคบ ๆ แกนช่อแบน ช่อดอกย่อยออกเดี่ยว ๆ เรียงเวียน กาบบนมีขนต่อม 1 เส้น กาบล่างยาว 1.5-2 มม. กาบบนยาว 2-2.5 มม. มีดอกย่อยดอกเดียว กาบล่าง
(ภาพ: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่ - SSi)
รูปไข่ ยาว 4-5 มม. ปลายรูปลิ่ม เส้นกาบ 9 เส้น กาบบนรูปแถบ ยาว 4.5-5.8 มม.
หญ้าเหนียวหมา ปลายแหลม เกสรเพศผู้ 6 อัน
Centotheca lappacea (L.) Desv. พบที่อินเดีย ศรีลังกา เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิวกินี ออสเตรเลีย และหมู่เกาะ
วงศ์ Poaceae โซโลมอน ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงใต้
ชื่อพ้อง Cenchrus lappaceus L. พบมากทางภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 500 เมตร
หญ้าล้มลุกหลายฤดู มีเหง้า ล�าต้นสูง 30-60 ซม. ข้อบวมพอง ใบรูปใบหอก สกุล Scrotochloa Judz. มี 2 ชนิด อีกชนิด คือ S. tararaensis (Jansen) Judz.
ยาว 10-16 ซม. โคนสอบ ขอบมีขนสาก เส้นใบมีเส้นขวางเป็นตาราง ลิ้นกาบ พบที่ปาปัวเซียและออสเตรเลีย ชื่อสกุลน่าจะมาจากภาษาละติน “scrotum”
ขอบมีขนครุย ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ช่อแขนงคล้ายช่อกระจะ ช่อดอกย่อย ถุงอัณฑะ และภาษากรีก “chloa” หญ้า ตามลักษณะกาบรูปโถในดอกเพศเมีย
ออกเดี่ยว ๆ เรียงเวียน รูปใบหอกแกมรูปไข่ แบนด้านข้าง ยาว 5-7 มม. ก้านช่อ
ยาวได้ถึง 3 มม. กาบช่อดอกย่อยบาง รูปขอบขนานแกมรูปไข่ ปลายแหลม เส้นกาบ เอกสารอ้างอิง
3 เส้น กาบล่างยาวประมาณ 2.5 มม. สันกลางกาบมีหนาม กาบบนยาว 3-3.5 มม. Duistermaat, H. (2005). Field guide to the Grasses of Singapore (excluding the
Bamboos). Gardens’ Bulletin Singapore 57: 121-122.
เกลี้ยง มีดอกย่อย 3 ดอก ดอกล่างสมบูรณ์เพศ กาบบาง เกลี้ยง กาบล่างรูปใบหอก Gilliland, H.B., R.E. Holttum and N.L. Bor. (1971). A revised Flora of Malaya.
ยาวประมาณ 4 มม. เส้นกาบ 7 เส้น กาบบนรูปคล้ายเรือ ยาวประมาณ 3 มม. Vol. 3. Grasses. Botanic Gardens, Government Printing Office, Singapore.
448
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 448 3/1/16 6:31 PM