Page 464 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 464
หญ้าปล้อง
หญ้าปล้อง สารานุกรมพืชในประเทศไทย เอกสารอ้างอิง
Hong, D. and R.A. DeFilipps. (2000). Commelinaceae. In Flora of China Vol.
Hymenachne amplexicaulis (Rudge) Nees 24: 30.
วงศ์ Poaceae Thitimetharoch, T., T. Subphala, S. Preeprame, S. Porasuphatana and R.B. Faden.
ชื่อพ้อง Panicum amplexicaule Rudge (2008). The identification of Yah Peking as Murdannia bracteata (Com-
melinaceae) and the species with which it has been confused. Paper
th
หญ้าหลายฤดู มีไหล ล�าต้นเลื้อยทอดนอน ยาวได้ถึง 3.5 ม. ชูยอดสูงได้ถึง 1 ม. presented in the 14 Flora of Thailand Meeting, 18-21 August 2008.
มีรากตามโคนต้น ข้อบวมพอง ปล้องมีไส้สีขาว ใบรูปแถบ ยาว 15-30 ซม. โคนมน Copenhagen, Denmark.
โอบล�าต้นเล็กน้อย กาบใบยาว 7-10 ซม. ลิ้นกาบบาง ยาว 1-2 มม. ช่อดอกแบบ
ช่อแยกแขนงแคบ ๆ คล้ายช่อเชิงลด ยาว 20-40 ซม. แกนช่อมีครีบ ช่อดอกย่อย
ออกเดี่ยว ๆ รูปใบหอก ยาว 5-6.5 มม. กาบช่อดอกย่อยบาง ปลายแหลมยาว
กาบช่อล่างรูปไข่ ยาว 1.2-2 มม. เส้นกาบ 1-3 เส้น กาบช่อบนรูปใบหอก ยาว
3-5 มม. เส้นกาบ 5 เส้น ปลายมีติ่งหนาม ดอกย่อยดอกล่างเป็นหมัน กาบล่างคล้าย
กาบช่อดอกย่อยบน ไม่มีกาบบน ดอกย่อยดอกบนสมบูรณ์เพศ กาบรูปเรือ ปลายแหลม
ยาวประมาณ 3 มม. เส้นกาบ 3 เส้น กาบบนหนา ปลายมีขนคายสั้น ๆ
พบที่อเมริกาเขตร้อน อินเดีย จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย
ถึงออสเตรเลียตอนบน ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามริมน�้าหรือที่น�้าขัง ความสูงถึง
ประมาณ 400 เมตร
สกุล Hymenachne P. Beauv. มี 5-10 ชนิด พบในอเมริกา แอฟริกา และเอเชีย
ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ หญ้าปล้องน้อย H. assamica (Hook. f.) Hitchc.
ช่อดอกย่อยสั้นกว่า ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “hyme” เยื่อบาง และ “achne” หญ้าปักกิ่ง: ใบกระจุกที่โคนรูปแถบ ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น ใบประดับติดทน แห้งแล้วร่วง กลีบดอกรูปไข่กลับ
กาบ ตามลักษณะกาบช่อดอก และกาบล่างดอกย่อยล่าง เกสรเพศผู้ 2 อัน ก้านชูอับเรณูมีขนเครา เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 3 อัน (ภาพ: cultivated - RP)
เอกสารอ้างอิง หญ้าปากควาย
Chen, S.L. and S.M. Phillips. (2006). Poaceae (Hymenachne). In Flora of China
Vol. 22: 510. Dactyloctenium aegyptium (L.) Willd.
Norsaengsri, M. and P. Chantaranothai. (2005). The genus Hymenachne วงศ์ Poaceae
(Poaceae) in Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 33: 94-100.
ชื่อพ้อง Cynosurus aegyptius L.
หญ้าฤดูเดียว ล�าต้นทอดนอน ยาว 30-60 ซม. ข้อบวมพอง ใบรูปแถบ ยาว
5-32 ซม. โคนตัด ขอบมีขนยาวห่าง กาบใบสั้นหรือยาวกว่าปล้อง ลิ้นกาบบาง ยาว
1-2 มม. ขอบมีขนครุย ช่อดอกแยกแขนงคล้ายรูปนิ้วมือ ออกที่ปลายกิ่ง กว้าง
4-6 ซม. ช่อย่อยแบบช่อกระจะ มี 3-9 ช่อ ยาว 2-4 ซม. แกนช่อเป็นเหลี่ยม
ช่อดอกย่อยติดที่แกนแขนงช่อด้านเดียว เรียงเวียน ไร้ก้าน รูปไข่ แบนด้านข้าง
ยาว 3.5-4.5 มม. กาบช่อดอกย่อยบาง สั้นกว่าช่อดอกย่อย กลางสันมีขน เส้นกาบ
3 เส้น กาบล่างรูปใบหอก ปลายแหลม กาบบนรูปไข่ ปลายเรียวแหลมคล้ายรยางค์
ดอกย่อยมี 3-4 ดอก ดอกล่างไม่มีเพศ กาบล่างรูปไข่ ยาว 3 มม. ปลายเรียวแหลม
เนื้อบาง มีขนบริเวณสันกลางกาบ กาบบนรูปไข่กลับ ดอกบนสมบูรณ์เพศ กาบรูปไข่
ยาว 2-4 มม. มีขน ปลายยาวคล้ายหาง ดอกที่เหลืออยู่ด้านบน ไม่มีเพศ กาบบาง
สั้นกว่าในดอกบน ผิวเมล็ดเป็นคลื่น
พบทั่วไปในเขตร้อน เป็นวัชพืชในอเมริกาและยุโรป ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตาม
หญ้าปล้อง: ถิ่นที่อยู่ขึ้นในน�้า ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงแคบ ๆ (ภาพ: นครราชสีมา - SSi) ที่โล่ง โดยเฉพาะที่เป็นดินทราย ความสูงถึงประมาณ 650 เมตร
หญ้าปักกิ่ง สกุล Dactyloctenium Willd. มี 13 ชนิด ส่วนมากพบในแอฟริกา และอินเดีย ในไทย
Murdannia bracteata (C. B. Clarke) J. K. Morton ex D. Y. Hong มีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “daktylos” นิ้วมือ และ “ktenion” ซี่หวี
วงศ์ Commelinaceae ตามลักษณะช่อดอกและการเรียงตัวของช่อดอกย่อย
ชื่อพ้อง Aneilema nudiflorum (L.) R. Br. var. bracteatum C. B. Clarke เอกสารอ้างอิง
ไม้ล้มลุก มีเหง้า ไม่มีล�าต้นหรือมีแต่สั้นมาก รากหนา มีขนหนาแน่น ใบเกลี้ยง Chen, S.L. and S.M. Phillips. (2006). Poaceae (Dactyloctenium). In Flora of
หรือมีขนด้านล่าง ใบกระจุกที่โคนรูปแถบ กว้าง 1.2-1.8 ซม. ยาว 20-30 ซม. China Vol. 22: 480.
ใบตามล�าต้นเรียงเวียน รูปใบหอกหรือแกมรูปไข่ ยาว 3-12 ซม. กาบใบมีขนสั้นนุ่ม Gilliland, H.B., R.E. Holttum and N.L. Bor. (1971). A revised Flora of Malaya.
Vol. 3. Grasses. Botanic Gardens, Government Printing Office, Singapore.
หรือมีขนหยาบยาวตามขอบปาก ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น มี 1-5 ช่อ ก้านช่อยาว
2-3 ซม. ใบประดับเส้นผ่านศูนย์กลาง 5-7 มม. ติดทน แห้งแล้วร่วง ก้านดอกสั้น
ขยายในผลยาว 2-3 มม. โค้งงอ กลีบเลี้ยง 3 กลีบ รูปไข่ ยาวประมาณ 4 มม.
ดอกสีฟ้าอมม่วง มี 3 กลีบ รูปไข่กลับเกือบกลม ยาว 7-8 มม. เกสรเพศผู้ 2 อัน
ก้านชูอับเรณูมีขนเครา เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 3 อัน รังไข่ 3 ช่อง ผลรูปสามเหลี่ยม
ยาวประมาณ 4 มม. แตกเป็น 3 ช่อง แต่ละช่องมี 2 เมล็ด ผิวเป็นร่างแห (ดูข้อมูล
เพิ่มเติมที่ หญ้าหงอนเหงือก, สกุล)
พบที่จีน ลาว และเวียดนาม ขึ้นตามดินทรายริมล�าธาร ในไทยปลูกเป็นพืช
สมุนไพรมีสรรพคุณยับยั้งเซลล์มะเร็ง บางครั้งเข้าใจผิดว่าเป็นชนิด M. loriformis
(Hassk.) R. S. Rao & Kammathy ซึ่งรากบางกว่า ใบตามล�าต้นเรียวแคบกว่า
ใบประดับย่อยร่วงง่าย และช่อดอกแตกแขนงแผ่กว้าง มีเขตการกระจายพันธุ์กว้าง หญ้าปากควาย: ช่อดอกแยกแขนงคล้ายรูปนิ้วมือ ออกที่ปลายกิ่ง (ภาพ: หัวหิน ประจวบคีรีขันธ์ - SSi)
444
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 444 3/1/16 6:30 PM