Page 459 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 459
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
พบที่อินเดีย ภูฏาน ศรีลังกา จีน เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสเตรเลีย และ หญ้าจิ้มฟันควาย หญ้าจิ้มฟันควาย
หมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามชายป่า ความสูงถึงประมาณ 2300 เมตร Arundina graminifolia (D. Don) Hochr.
เอกสารอ้างอิง วงศ์ Orchidaceae
Cheng, S.L. and S.M. Phillips. (2006). Poaceae (Cyrtococcum). In Flora of ชื่อพ้อง Bletia graminifolia D. Don
China Vol. 22: 513-514.
Gilliland, H.B., R.E. Holttum and N.L. Bor. (1971). A revised Flora of Malaya. กล้วยไม้ดิน สูง 1.5-2.5 ม. ใบรูปแถบคล้ายหญ้า เรียงเวียน ยาว 10-30 ซม.
Vol. 3. Grasses. Botanic Gardens, Government Printing Office, Singapore. ปลายแหลม โคนเป็นกาบหุ้มล�าต้น ช่อดอกแบบช่อกระจะหรือช่อแยกแขนง
ออกตามปลายกิ่ง แกนช่อยาวได้กว่า 50 ซม. ดอกจ�านวนมาก บานทีละ 1-2 ดอก
ใบประดับรูปสามเหลี่ยม ปลายมีติ่งแหลม ยาว 3-9 มม. ติดทน ดอกสีขาว สีชมพู
หรือม่วง กลีบปากสีเข้มมีปื้นสีเหลืองที่โคน กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาวเท่า ๆ กัน
ยาว 2.2-4.7 ซม. กลีบคู่ข้างเบี้ยวเล็กน้อย กลีบดอกรูปรีหรือรูปไข่ ยาว 2-5 ซม.
กลีบปากยาว 2.5-5 ซม. ปลายกลีบแยก 3 แฉก แฉกข้างโคนม้วนห่อเส้าเกสร
ปลายกลีบกลม แฉกกลางขอบย่น ปลายจักลึก 2 แฉก เส้าเกสรตรง ปลายกว้าง
ยาว 1.4-2 ซม. กลุ่มเรณู 8 กลุ่ม แยกเป็น 2 กลุ่มย่อย รังไข่รวมก้านดอกยาว
1-3.3 ซม. ผลแห้งแตกรูปกระสวย ห้อยลง ยาว 3-5 ซม.
พบที่อินเดีย ภูฏาน เนปาล จีน ไต้หวัน พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย
ในไทยกระจายพบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่ง ชายป่า ความสูงถึงประมาณ 2000 เมตร
มีความผันแปรสูงโดยเฉพาะสีของดอก แยกเป็น subsp. caespitosa (Aver.) H. A.
Pedersen & Schuit. หรือเอื้องใบไผ่ภูวัว ล�าต้นและดอกขนาดเล็กกว่า ใบแคบกว่า
ผลตั้งขึ้น พบตามริมล�าธารขนาดเล็กที่น�้าท่วมถึง เขตการกระจายพันธุ์คล้ายกับ
หญ้าไข่เหา: ช่อดอกแยกแขนงแคบ ๆ ก้านช่อดอกย่อยยาวกว่าช่อดอกย่อย (ภาพซ้าย: แก่งกระจาน เพชรบุรี - SSi);
หญ้าง๊าด: ใบและช่อดอกขนาดใหญ่กว่าหญ้าไข่เหา (ภาพขวา: ทองผาภูมิ กาญจนบุรี - SSi) หญ้าจิ้มฟันควาย ในไทยพบที่ภูวัว จังหวัดบึงกาฬ
สกุล Arundina Blume อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Epidendroideae เผ่า Arethuseae มี
เพียงชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน “arundo” อ้อหรือกก ตามลักษณะวิสัย
เอกสารอ้างอิง
Pedersen, H.Æ. (2014). Orchidaceae (Arundina). In Flora of Thailand Vol. 12(2):
327-330.
Seidenfaden, G. (1986). Orchid genera in Thailand. Opera Botanica 89: 16.
Seidenfaden, G. and J.J. Wood. (1992). The Orchids of Peninsular Malaysia
and Singapore. Olsen & Olsen, Fredensborg, Denmark.
หญ้าไข่เหาดอกแน่น: ช่อดอกย่อยสีน�้าตาลแดง ก้านช่อสั้นกว่าช่อดอกย่อย (ภาพ: แก่งกระจาน เพชรบุรี - SSi)
หญ้าไข่เหาหลวง
Panicum notatum Retz.
วงศ์ Poaceae
หญ้าหลายฤดู สูงได้ถึง 2 ม. ใบรูปขอบขนานหรือรูปแถบ ยาว 10-20 ซม.
โคนมนหรือเว้าตื้น ขอบมีขนสาก กาบใบมีริ้ว ลิ้นใบบาง ปลายมีขนครุย ช่อดอกยาว
10-40 ซม. ช่อดอกย่อยรูปรีแกมรูปไข่ ยาว 2-3 มม. มีขนละเอียด กาบช่อดอกย่อยล่าง
แยกโดยปล้องข้อ สั้นกว่าช่อดอกย่อย รูปไข่ เส้นกาบ 3-5 เส้น กาบช่อดอกย่อยบน
ยาวเท่า ๆ ช่อดอกย่อย เส้นกาบ 3-5 เส้น กาบดอกล่างคล้ายกาบช่อดอกย่อยบน
ไม่มีเกล็ดประดับ กาบดอกบนยาวเท่า ๆ ช่อดอกย่อย หนา เรียบ อับเรณูสีม่วง
(ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ หญ้ากินนี, สกุล)
พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู และฟิลิปปินส์ ใน หญ้าจิ้มฟันควาย: ช่อดอกแบบช่อกระจะหรือช่อแยกแขนง กลีบปากสีเข้มมีปื้นสีเหลืองที่โคน ผลห้อยลง (ภาพซ้าย:
ไทยพบทุกภาค ขึ้นตามชายป่าหรือในป่าดิบแล้งและป่าดิบชื้น นราธิวาส - RP; ภาพขวา: น�้าหนาว เพชรบูรณ์ - PK)
เอกสารอ้างอิง
Chen, S.L. and S.A. Renvoize. (2006). Poaceae (Panicum). In Flora of China
Vol. 22: 513-514.
Norsaengsri, M. (2006). Systematics of Poaceae subtribe Setariinae in Thailand.
Ph.D. Thesis, Khon Kaen University.
เอื้องใบไผ่ภูวัว: ใบและดอกขนาดเล็กกว่า ขึ้นตามริมล�าธาร มีทั้งดอกสีอ่อนและสีเข้ม (ภาพ: ภูวัว บึงกาฬ;
หญ้าไข่เหาหลวง: ลิ้นใบบาง ปลายมีขนครุย ขอบใบมีขนสาก ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง (ภาพ: ล�าปาง - SSi) ภาพซ้ายและขวาบน - NT, ภาพขวาล่าง - PK)
439
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 439 3/1/16 6:28 PM