Page 455 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 455
แยกเกือบจรดโคน รูปไข่ ยาวประมาณ 6.5 มม. ปลายเรียวแหลม มีครีบเป็นปีก กว้าง หงส์เหิน สารานุกรมพืชในประเทศไทย หงส์เหิน
2-2.5 มม. ดอกสีม่วงอมชมพู หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 5 มม. กลีบรูปขอบขนาน Gomphocarpus physocarpus E. Mey.
ยาวเท่า ๆ หลอดกลีบดอก ปลายแหลม เกสรเพศผู้ 5 อัน ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณู
ยาวประมาณ 2 มม. มีรูเปิดที่ปลาย ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 4 มม. ยอดเกสร วงศ์ Apocynaceae
จัก 2 พู ผลรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 5 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ หญ้าเหลี่ยม, สกุล) ชื่อพ้อง Asclepias physocarpa (E. Mey.) Schltr., G. brasiliensis E. Fourn.
พบที่พม่า ในไทยพบทางภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 2.5 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง เส้นกลางใบด้านล่าง ขอบใบ ช่อดอก
ขึ้นกระจายห่าง ๆ ตามทุ่งหญ้า ชายป่า ความสูง 700-1300 เมตร ก้านดอก และกลีบเลี้ยง ใบเรียงตรงข้าม รูปแถบ ยาว 4-12 ซม. ก้านใบยาวได้ถึง
1 ซม. ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม ออกตามซอกใบ มี 5-12 ดอก ก้านช่อยาว 1.5-3.5 ซม.
เอกสารอ้างอิง ก้านดอกยาว 1-3 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปใบหอก ยาว 3-4 มม. ดอกสีขาว มี 5 กลีบ
Ubolcholaket, A. (1987). Gentianaceae. In Flora of Thailand. Vol. 5(1): 80. รูปไข่ ยาว 5-8 มม. พับงอกลับ ขอบมีขนครุยหนาแน่น กะบังติดเหนือโคน
เส้าเกสรเพศผู้ มีริ้วสีม่วงแซม โคนเส้าเกสรมีพูเกสรเพศผู้รูปคุ่ม 5 พู ผลแตกแนวเดียว
กลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 4-7 ซม. มีขนยาวประมาณ 1 ซม. หนาแน่น ก้านผล
บิดเวียน เมล็ดรูปไข่ ยาวประมาณ 4.5 มม. ปลายมีขนกระจุกยาวประมาณ 3 ซม.
ถิ่นก�าเนิดในแอฟริกาทางตอนใต้ มักขึ้นบนที่สูง เป็นวัชพืชในหลายพื้นที่ ในไทย
พบเป็นไม้ประดับ ส่วนต่าง ๆ มีพิษท�าให้ท้องปั่นป่วน
สกุล Gomphocarpus R. Br. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Asclepiadoideae มีประมาณ
20 ชนิด พบในแอฟริกาและคาบสมุทรอาระเบีย ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
“gomphos” กระบอง และ “karpos” ผล ตามลักษณะผลหลายชนิด
ไส้ปลาเข็ม: ช่อดอกแบบช่อกระจุกสั้น ๆ ใบเรียงตรงข้าม เส้นโคนใบข้างละ 2 เส้น กลีบเลี้ยงมีครีบเป็นปีก เอกสารอ้างอิง
ปลายเรียวแหลม (ภาพซ้าย: ภูสวนทราย เลย, ภาพขวา: ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่; ภาพ: - PK) Goyder, D.J. and A. Nicholas. (2001). A revision of Gomphocarpus R.Br., Kew
Bulletin 56: 788-790.
หงส์ฟู่
Loropetalum chinense (R. Br.) Oliv. var. rubrum Yieh
วงศ์ Hamamelidaceae
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 3 ม. มีขนกระจุกรูปดาวสั้นนุ่มตามกิ่ง หูใบ แผ่นใบ ก้านใบ
ช่อดอก ถ้วยดอก (floral cup) กลีบเลี้ยง รังไข่ และผล หูใบรูปใบหอก ยาว
3-5 มม. ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปไข่ ยาว 2-6.5 ซม. ก้านใบยาว 2-5 มม. ปลายแหลม
โคนรูปลิ่มถึงกลม เบี้ยว ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกสั้น ๆ คล้ายเป็นกระจุกที่
หงส์เหิน: ใบเรียงตรงข้าม รูปแถบ ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม กลีบดอกพับงอกลับ ขอบมีขนครุยหนาแน่น กะบังติดเหนือ
ปลายกิ่ง มี 3-16 ดอก ก้านช่อยาวประมาณ 1 ซม. ใบประดับรูปแถบ ยาว 2-4 มม. โคนเส้าเกสรเพศผู้ ผลมีขนยาวหนาแน่น (ภาพ: cultivated - RP)
ร่วงเร็ว ก้านดอกสั้น ถ้วยดอกยาวประมาณ 1.5 มม. ติดทน กลีบเลี้ยง 4 กลีบ รูปไข่
ยาว 2-3 มม. ดอกสีแดงอมชมพู มี 4-6 กลีบ รูปแถบ ยาว 1-2 ซม. ปลายมน หงส์เหิน
เกสรเพศผู้ 4-5 อัน ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณูมี 4 ช่อง แกนอับเรณูเป็นติ่งสั้น Hedychium khaomaenense Picheans. & Mokkamul
เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันคล้ายเกล็ดติดระหว่างเกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์ รังไข่ใต้วงกลีบ
มี 2 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 มม. ผลแห้งแตก รูปไข่กลับกว้าง ยาว วงศ์ Zingiberaceae
7-8 มม. เชื่อมติดถ้วยดอกเกินกึ่งหนึ่ง แต่ละช่องมีเมล็ดเดียว รูปรีกว้าง ยาว 4-7 มม. ไม้ล้มลุก ขึ้นบนดินหรืออิงอาศัย สูงได้ถึง 60 ซม. ใบรูปรีถึงรูปขอบขนาน ยาว
มีถิ่นก�าเนิดที่จีนตอนใต้ เป็นไม้ประดับ 25-30 ซม. ไร้ก้านหรือยาวได้ถึง 2 ซม. ลิ้นกาบสีแดง ปลายแยก 2 แฉก ขอบกาบใบ
สีแดง ช่อดอกยาว 15-30 ซม. มี 2-8 ดอก ขอบใบประดับสีแดง หลอดกลีบเลี้ยง
สกุล Loropetalum R. Br. มี 3 ชนิด พบที่อินเดีย จีน และญี่ปุ่น ในไทยมีพืช ยาวประมาณ 10 ซม. ดอกสีขาวเปลี่ยนเป็นสีเหลืองอ่อน หลอดกลีบดอกยาว
พื้นเมืองชนิดเดียว คือ ไข่นกเขา L. chinense (R. Br.) Oliv. var. chinense พบ ได้ถึง 14 ซม. กลีบคู่ข้างสีแดง รูปแถบ ม้วนงอ ยาว 6-7 ซม. กลีบปากยาวเท่า ๆ
ที่น้ำาหนาว จังหวัดเพชรบูรณ์ ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “loros” แส้หนัง และ กลีบคู่ข้าง รูปไข่กลับ ช่วงปลายกว้างประมาณ 4 ซม. สีขาว โคนมีปื้นสีเหลือง
“petalon” กลีบดอก ตามลักษณะของกลีบดอก ปลายแฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง ก้านกลีบยาว 1-1.5 ซม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน
ด้านข้างสีขาว รูปไข่กลับแกมรูปใบหอก ยาว 7-8 ซม. ก้านชูอับเรณูยาว 5.5-6 ซม.
เอกสารอ้างอิง อับเรณูยาว 1.5-1.7 ซม. ผลรูปรี ยาว 3-3.5 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตาเหิน, สกุล)
Phengklai, C. (2001). Hamamelidaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 406.
Zhang, Z.Y. H. Zhang and P.K. Endress. (2003). Hamamelidaceae. In Flora of พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคใต้ที่นครศรีธรรมราช กระบี่ ขึ้นตามทุ่งหญ้า
China Vol. 9: 32-34. บนยอดเขา หรือคบไม้ ในป่าดิบเขา ความสูง 1000-1200 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Picheansoonthon, C. and P. Mokkamul. (2005). Two new species of Hedychium
Koenig (Zingiberaceae) from Thailand. Folia Malaysiana 6: 17-26.
หงส์เหิน: ลิ้นและกาบใบมีสีแดง ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกที่ยอด กลีบดอกรูปแถบ ม้วนงอ สีแดง กลีบปากและ
หงส์ฟู่: โคนใบเบี้ยว ช่อดอกแบบช่อกระจะสั้น ๆ คล้ายเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง กลีบดอกรูปแถบ (ภาพ: cultivated - RP) เกสรเพศผู้ที่เป็นหมันด้านข้างสีขาว เปลี่ยนเป็นสีแหลือง ปลายกลีบปากแฉกลึก (ภาพ: เขาพนมเบญจา กระบี่ - RP)
435
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 435 3/1/16 6:27 PM