Page 451 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 451

สารานุกรมพืชในประเทศไทย


                       สกุล Dapsilanthus B. G. Briggs & L. A. S. Johnson มี 4 ชนิด พบในเอเชียและ  แสลงพัน, สกุล  แสลงพันกระดูก
                       ออสเตรเลีย ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “dapsilis” จำานวนมาก  Phanera Lour.
                       หรือหนาแน่น และ “anthos” ดอก ตามลักษณะช่อดอกเรียงเป็นกระจุกแน่น
                                                                        วงศ์ Fabaceae
                      เอกสารอ้างอิง
                       Briggs, B.G. and L.A.S. Johnson. (1998). New genera and species of Australian   ไม้เถา มีมือจับ หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน เรียบหรือแฉกลึก ช่อดอกแบบ
                          Restionaceae (Poales). Telopea 7(4): 369.     ช่อกระจะ ช่อเชิงหลั่น หรือช่อแยกแขนง ใบประดับและใบประดับย่อยร่วงเร็ว
                       Larsen, K. (2000). Restionaceae (Leptocarpus disjunctus). In Flora of Thailand   กลีบเลี้ยง 3-5 กลีบ แฉกลึก กลีบดอก 5 กลีบ มีก้านกลีบ เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์
                          Vol. 2(2): 172-174.                           ส่วนมากมี 3 อัน พบน้อยที่มี 2 อัน รังไข่มี 1 ช่อง มีก้านสั้น ๆ ยอดเกสรเพศเมีย
                       Wu, G. and K. Larsen.(2000). Restionaceae. In Flora of China Vol. 24: 2.  เป็นตุ่มหรือรูปจาน ผลเป็นฝักแบน แห้งแตกหรือไม่แตก


                                                                           สกุล Phanera เคยรวมอยู่ภายใต้สกุล Bauhinia ซึ่งปัจจุบันได้ถูกจำาแนกออกเป็น
                                                                           หลายสกุล เช่น Phanera, Lasiobema และ Lysiphyllum เป็นต้น มีประมาณ
                                                                           84 ชนิด ส่วนมากพบในเขตร้อน ในไทยมีประมาณ 20 ชนิด และพบเป็นไม้ประดับ
                                                                           1 ชนิด คือ สาวปีนัง P. kockiana (Korth.) Benth. พบเฉพาะในภูมิภาคมาเลเซีย
                                                                           ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “phaneros” แปลว่าชัดเจน หมายถึงลักษณะดอกที่
                                                                           ค่อนข้างใหญ่เห็นชัดเจน

                                                                        แสลงพัน
                                                                        Phanera involucellata (Kurz) de Wit
                      แส้ม้าฮ่อ: ไม้ล้มลุก แตกกอหนาแน่น ช่อดอกย่อยแบบช่อเชิงลดเป็นกระจุกแน่น เรียงบนช่อเแยกแขนง ใบประดับ
                    รูปไข่แคบ สีน�้าตาลแดง (ภาพ: ภูวัว บึงกาฬ - SSi)      ชื่อพ้อง Bauhinia involucellata Kurz
                                                                           ไม้เถา มีขนละเอียดสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน ช่อดอก และตาดอก ใบรูปไข่ ยาว 6-15 ซม.
                    แสลงใจ                                              ปลายแฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง เส้นใบ 9-11 เส้น ก้านใบยาว 3-7 ซม. ช่อดอกแบบ
                    Strychnos nux-vomica L.                             ช่อกระจะ ตาดอกรูปขอบขนาน ใบประดับรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 1 ซม.
                    วงศ์ Loganiaceae                                    ใบประดับย่อยรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 1.5-2 ซม. ติดใกล้โคนฐานดอก ติดทน
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 25 ม. กิ่งบางครั้งมีหนาม ใบเรียงตรงข้าม รูปรีหรือรูปไข่กว้าง   ก้านดอกยาว 0.6-1 ซม. ฐานดอกยาว 0.7-1 ซม. กลีบเลี้ยงแยกเป็น 4-5 ส่วน ยาว
                    ยาว 4-10.5 ซม. ปลายแหลมสั้น ๆ หรือมีติ่งแหลม เส้นโคนใบข้างละ 1-2 เส้น   1-1.5 ซม. พับงอกลับ ดอกสีเหลืองอ่อนอมเขียว กลีบรูปสี่เหลี่ยมข้าวหลามตัดหรือ
                    ก้านใบยาว 0.5-1 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ออกที่ปลายกิ่งหรือ  รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 2 ซม. ขอบจักเป็นคลื่น ก้านกลีบยาวกว่าแผ่นกลีบ
                    ปลายกิ่งสั้น ๆ ด้านข้าง มีขนสั้นนุ่ม ก้านช่อยาวได้ถึง 3 ซม. ก้านดอกยาว 1-2 มม.   เล็กน้อย สีแดง ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 3 ซม. สีเขียวเปลี่ยนเป็นสีแดง อับเรณู
                    กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปไข่ ยาว 0.5-1.5 มม. ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม ดอกรูปดอกเข็ม   ยาว 4-5 มม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 7 อัน สีแดง ยาว 0.7-1.5 ซม. อับเรณูคล้าย
                    สีเขียวอมเหลือง ยาว 0.8-1.3 ซม. หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 3 เท่าของ  รูปหัวใจ รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 5 มม. ฝักแบน รูปใบหอก
                    กลีบดอก ด้านนอกมีปุ่มละเอียด โคนด้านในมีขนคล้ายขนแกะ เกสรเพศผู้ 5 อัน   ยาวได้ถึง 12 ซม. มีประมาณ 5 เมล็ด เมล็ดแบน เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2 ซม.
                    ติดบนปากหลอดระหว่างกลีบดอก ไร้ก้าน อับเรณูยาวประมาณ 1.5 มม. รังไข่มี   พบที่พม่า ในไทยพบทางภาคเหนือที่ล�าปาง ภาคตะวันออกที่นครราชสีมา
                    2 ช่อง ออวุลจ�านวนมาก พลาเซนตารอบแกนร่วม ก้านเกสรเพศเมียยาวได้ถึง 1.2 ซม.   และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่กาญจนบุรี ราชบุรี เพชรบุรี ประจวบคีรีขันธ์ ขึ้นตาม
                    ยอดเกสรจักตื้น 2 พู ผลเปลือกแข็งมีหลายเมล็ด เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-4.5 ซม.   ชายป่าดิบแล้ง หรือเขาหินปูนเตี้ย ๆ
                    เมล็ดหนา เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 ซม. มีขนคล้ายไหม
                       พบที่อินเดีย ศรีลังกา ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบทาง  แสลงพันกระดูก
                    ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคตะวันตกเฉียงใต้   Phanera similis (Craib) de Wit
                    ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร   ชื่อพ้อง Bauhinia similis Craib
                    คล้ายกับ ตูมกาขาว S. nux-blanda A. W. Hill ที่มีกลีบเลี้ยงเรียวแคบและยาวกว่า
                    ด้านนอกมีขนประปราย และผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 5-8 ซม.      ไม้เถา มีขนก�ามะหยี่สีน�้าตาลเทาตามกิ่งอ่อน ช่อดอก และตาดอก ใบรูปไข่กว้าง
                                                                        ยาวได้ถึง 9 ซม. ปลายแฉกลึกมากกว่าหรือประมาณกึ่งหนึ่ง เส้นใบ 11-13 เส้น
                       สกุล Strychnos L. มีประมาณ 190 ชนิด พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ในไทยมี   ก้านใบยาว 1.5-3 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ตาดอกรูปขอบขนาน ยาวประมาณ
                       15 ชนิด หลายชนิดมีสรรพคุณด้านสมุนไพร และเป็นพิษ ชื่อสกุลมาจากภาษา  1 ซม. ปลายแหลมเป็นแฉกตื้น ๆ ใบประดับรูปแถบ ยาว 0.7-1.6 ซม. ใบประดับย่อย
                       กรีก “strychnon” กลิ่นฉุน ขม ตามลักษณะของผล      ขนาดเล็ก ติดประมาณกึ่งกลางหรือต�่ากว่าบนก้านดอก ก้านดอกยาว 3-8 ซม.
                                                                        ฐานดอกยาว 3-5 มม. กลีบเลี้ยงแยกเป็น 4-5 ส่วน พับงอ ยาวประมาณ 1.5 ซม.
                      เอกสารอ้างอิง                                     ดอกสีขาวอมเขียว กลีบรูปใบพาย โคนเรียวจรดก้านกลีบ ยาว 2.5-3 ซม. มีขนสั้นนุ่ม
                       Griffin, O. and J. Parnell. (1997). Loganiaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(3):
                          208-220.                                      ก้านกลีบสีแดง ก้านชูอับเรณูยาว 3-3.5 ซม. โคนก้านและอับเรณูสีแดง ยาว 2-3 มม.
                       Li, B. and A.J.M. Leeuwenberg. (1996). Loganiaceae. In Flora of China Vol.   เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 7 อัน ยาวประมาณ 1.5 ซม. รังไข่มีขนสั้นนุ่ม ก้านเกสรเพศเมีย
                          15: 324-325.                                  ยาวเท่า ๆ รังไข่ ยอดเกสรรูปโล่ ฝักแบน รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 10-15 ซม.

                                                                           พบที่พม่า และลาว ในไทยพบทางภาคเหนือที่แพร่ น่าน ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
                                                                        ที่ขอนแก่น ภาคกลางที่สระบุรี ภาคตะวันออกเฉียงใต้ที่จันทบุรี ขึ้นตามเขาหินปูน
                                                                        ความสูง 200-300 เมตร
                                                                           เอกสารอ้างอิง
                                                                           Chadburn, H. (2012). Bauhinia kockiana. The IUCN Red List of Threatened
                                                                              Species 2012: e.T19892741A20124252. http://dx.doi.org/10.2305/IUCN.
                                                                              UK.2012.RLTS.T19892741A20124252.en
                                                                           Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae
                                                                              (Bauhinia involucellata). In Flora of Thailand Vol. 4(1): 37-38.
                      แสลงใจ: ใบเรียงตรงข้าม เส้นโคนใบข้างละ 1-2 เส้น ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ ออกที่ปลายกิ่ง    Mackinder, B.A. and R. Clark. (2014). A synopsis of the Asian and Australasian
                    ดอกรูปดอกเข็ม สีเขียวอมเหลือง กลีบเลี้ยงด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 3 เท่าของกลีบดอก    genus Phanera Lour. (Cercideae: Caesalpinioideae: Leguminosae) including
                    ผลเปลือกแข็ง (ภาพ: อุบลราชธานี - PK)                      19 new combinations. Phytotaxa 166(1): 49-68.

                                                                                                                    431






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   431                                                                 3/1/16   6:26 PM
   446   447   448   449   450   451   452   453   454   455   456