Page 456 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 456
หงอนไก่
หงอนไก่ สารานุกรมพืชในประเทศไทย
Schoutenia kunstleri King
วงศ์ Malvaceae
ไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. มีขนกระจุกรูปดาวสั้นนุ่มตามกิ่ง ก้านใบ กลีบเลี้ยง รังไข่
และผล ใบเรียงสลับระนาบเดียว รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 10-20 ซม. ปลายแหลม
หรือแหลมยาว โคนมน เบี้ยว เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น เส้นแขนงใบข้างละ 3-5 เส้น
เส้นแขนงใบย่อยแบบขั้นบันได ก้านใบยาว 0.8-1.5 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก
ออกตามซอกใบ ยาว 4-7 ซม. ตาดอกรูปไข่ ยาวประมาณ 5 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ
แฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง ขยายในผล ไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้จ�านวนมาก แยกกัน
อับเรณูติดที่ฐาน รูปขอบขนาน รังไข่มี 2-5 ช่อง เส้นผ่านศูนย์กลาง 4-5 มม. แต่ละช่อง
มีออวุล 2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียแยกเป็น 3-5 แฉก ผลแห้งไม่แตก เส้นผ่านศูนย์กลาง
5-7 มม. กลีบเลี้ยงที่ขยายบานออกรูประฆัง กลีบรูปไข่กลับ ยาว 1-2 ซม. (ดูข้อมูล
เพิ่มเติมที่ แดงสะแง สกุล) หงอนไก่ดง: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ดอกสีขาวอมเหลือง กลีบค่อนข้างหนา ผลจักเป็นพูตื้น ๆ เยื่อหุ้มสีส้มแดง
หุ้มเมล็ดจนมิด (ภาพดอก: อุ้มผาง ตาก - PK; ภาพผล: เลย - NT)
พบที่คาบสมุทรมลายู ชวา และภาคใต้ของไทยที่ตรัง นราธิวาส ขึ้นตามป่าดิบชื้น
ความสูง 50-200 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Phengklai, C. (1993). Tiliaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(1): 73.
หอมไกลดง: ผลจักเป็นพู ด้านกว้างยาวกว่าด้านยาว เมล็ดมีเยื่อหุ้มที่โคน (ภาพ: น�้าตกพาเจริญ ตาก - RP)
หงอนไก่ทะเล, สกุล
Heritiera Aiton
หงอนไก่: ใบเรียงสลับระนาบเดียว เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น ช่อดอกแบบช่อกระจุก เกสรเพศผู้จ�านวนมาก แยกกัน วงศ์ Malvaceae
กลีบเลี้ยงที่ขยายบานออกรูประฆัง (ภาพ: แว้ง นราธิวาส - MP)
ไม้ต้น ส่วนมากมีเกล็ดขุยและขนกระจุกรูปดาวสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน แผ่นใบ
หงอนไก่ดง ด้านล่าง ช่อดอก และกลีบเลี้ยงทั้งสองด้าน หูใบร่วงเร็ว ใบเรียงเวียนหนาแน่น
Harpullia cupanioides Roxb. ช่วงปลายกิ่ง เรียบหรือรูปฝ่ามือ ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกตามซอกใบ
ดอกมีเพศเดียว ลักษณะคล้ายกัน กลีบเลี้ยงรูประฆังหรือรูปคนโท มี 4-6 กลีบ ไม่มี
วงศ์ Sapindaceae กลีบดอก ก้านชูเกสรร่วมสั้น อับเรณู 4-15 อัน เรียง 1-2 วง ที่ปลายก้านชูเกสรร่วม
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. หรืออาจสูงถึง 40 ม. มีพูพอน แยกเพศต่างต้น กิ่งอ่อน เป็นหมันในดอกเพศเมีย มี 3-5 คาร์เพล เชื่อมติดกัน แต่ละคาร์เพลมีออวุล
มีขนยาว ไม่มีหูใบ ใบประกอบปลายคู่ ปลายยอดมีตา ใบย่อยส่วนมากมีข้างละ 1-2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรขนาดเล็ก ผลมี 2-5 ผลย่อย แห้งไม่แตก
3-6 ใบ เรียงสลับ ก้านใบประกอบยาว 15-20 ซม. ใบรูปรี รูปไข่ หรือรูปไข่กลับ ยาว มีสันตามยาวหรือปีก แต่ละผลย่อยมีเมล็ดเดียว
5-36 ซม. ปลายแหลม แหลมยาว หรือมน โคนแหลมถึงกลม เบี้ยว ก้านใบย่อยยาว สกุล Heritiera เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Sterculiaceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย Stercu-
5-8 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกตามซอกใบหรือปลายกิ่ง ยาวได้ถึง lioideae มีประมาณ 30 ชนิด ในไทยมี 7 ชนิด ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์
85 ซม. ใบประดับรูปใบหอก ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว 6-8 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ชาวฝรั่งเศส Charles Louis L’Héritier de Brutelle (1746-1800)
เรียงซ้อนเหลื่อม รูปรี ยาว 3-6 มม. ติดทน ดอกสีขาวอมเหลือง มี 5 กลีบ รูปไข่กลับ
ยาว 1-2.4 ซม. ค่อนข้างหนา จานฐานดอกรูปวงแหวน มีขนยาว เกสรเพศผู้ 5 อัน หงอนไก่ทะเล
สั้นกว่ากลีบดอกเล็กน้อย ก้านชูอับเรณูยาว 2.5-3.5 มม. อับเรณูสีส้มอ่อน รังไข่มี
2 ช่อง มีขนสั้นนุ่ม แต่ละช่องมีออวุล 1-2 เม็ด ยอดเกสรเพศเมียบิดเวียน ผลแห้งแตก Heritiera littoralis Aiton
จักเป็นพูตื้น ๆ รูปรี ยาว 2-3 ซม. เมล็ดสีน�้าตาลด�า รูปรี ยาว 1.3-1.5 ซม. เยื่อหุ้ม ไม้ต้น อาจสูงได้ถึง 35 ม. และโคนต้นมีพูพอน ใบรูปรี รูปไข่ หรือแกมรูปขอบขนาน
สีส้มแดง หุ้มเมล็ดจนมิด ยาว 10-22 ซม. ปลายแหลม โคนมน เบี้ยว แผ่นใบหนา ก้านใบหนา ยาว 1-2 ซม.
พบที่อินเดีย บังกลาเทศ จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ออสเตรเลีย ก้านใบแห้งย่น ช่อดอกยาวได้ถึง 15 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงสีน�้าตาลแดง ยาว 4-7 มม.
ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา และป่าดิบชื้น มี 5 กลีบ แฉกลึกประมาณหนึ่งส่วนสาม รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 2 มม. อับเรณู
โดยเฉพาะริมล�าธาร ความสูงถึงประมาณ 1800 เมตร เปลือกมีพิษใช้เบื่อปลา ส่วนมากมี 8 อัน หรือ 10 อัน คาร์เพลเกลี้ยง ผลย่อยรูปรี ยาว 5-10 ซม. มีสัน
ตามยาวด้านบน ผิวเกลี้ยงเป็นเงา ผลแก่สีน�้าตาล
สกุล Harpullia Roxb. มีประมาณ 26 ชนิด พบในเอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะ พบที่แอฟริกา อินเดีย ศรีลังกา พม่า จีน กัมพูชา เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย
แปซิฟิก ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ หอมไกลดง H. arborea (Blanco) Radlk. ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทางภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงใต้
กลีบดอกมีก้านกลีบ ผลจักเป็นพู ด้านกว้างยาวกว่าด้านยาว เมล็ดมีเยื่อหุ้มที่โคน และภาคใต้ ขึ้นตามป่าโกงกาง น�้าคั้นจากเปลือกแก้ริดสีดวงทวาร เมล็ดแก้บิด
ชื่อสกุลเป็นภาษาเบงคลีของบังกลาเทศที่ใช้เรียกหงอนไก่ดง ท้องเสีย ใบใช้ประคบแก้ปวด
เอกสารอ้างอิง หงอนไก่ใบเล็ก
Leenhouts, P.W. and M. Vente. (1994). Sapindaceae. Flora Malesiana Vol. 11:
606-608. Heritiera fomes Buch.-Ham.
van Welzen, P.C. (1999). Sapindaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 207-212. ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. ใบรูปรี รูปไข่ หรือรูปไข่กลับ ยาว 8-17 ซม. ปลายและโคน
Xia, N. and P.A. Gadek. (2007). Sapindaceae. In Flora of China Vol. 12: 8.
แหลมหรือมน แผ่นใบและก้านใบหนา ยาวได้ถึง 2 ซม. ช่อดอกยาวได้ถึง 7 ซม.
436
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 436 3/1/16 6:27 PM