Page 457 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 457

หลอดกลีบเลี้ยงสีเขียวอมเหลืองหรืออมชมพู ยาว 3-4 มม. มี 5 กลีบ แฉกลึก  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  หญ้าข้าวก�่า
                    ประมาณหนึ่งส่วนสาม อับเรณู 8-10 อัน ผลย่อยรูปรีหรือกลม ยาว 2-5 ซม. มีสัน
                    ตามยาว เกลี้ยง ผิวด้าน
                       พบที่อินเดีย หมู่เกาะอันดามัน บังกลาเทศ พม่า และคาบสมุทรมลายู ในไทย
                    พบทางภาคใต้ ขึ้นตามป่าโกงกาง

                    หงอนไก่ป่า
                    Heritiera parvifolia Merr.
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. โคนต้นมีพูพอน ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 6-20 ซม.
                    ปลายแหลมยาว โคนแหลมหรือมน เบี้ยว แผ่นใบหนา ก้านใบยาว 1-1.5 ซม. ช่อดอก
                    ยาวได้ถึง 15 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงสีขาว ยาว 2-4 มม. มี 5-6 กลีบ แฉกลึกประมาณ
                    หนึ่งส่วนสาม รูปสามเหลี่ยมแคบ ยาว 1.5-2 มม. อับเรณู 8-10 อัน ผลย่อยรูปรี
                                                                          หงอนไก่ฟ้า: แผ่นใบหนา ผลย่อยรูปรี เบี้ยว ยาว มีเกล็ดขุยสีน�้าตาล ปลายมีจะงอยคล้ายหางปลา (ภาพ: ดอยตุง
                    เกลี้ยง ยาวประมาณ 2 ซม. ปลายมีปีกคล้ายหางปลา ยาว 2-3 ซม.  เชียงราย - SSi)
                       พบที่อินเดีย พม่า ไห่หนาน ในไทยพบทางภาคกลางที่เขาใหญ่ จังหวัดนครนายก   หญ้ากินนี, สกุล
                    ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่สกลนคร นครพนม ขึ้นตามป่าดิบแล้งใกล้ล�าธาร ความสูง
                    100-600 เมตร                                        Panicum L.
                                                                        วงศ์ Poaceae
                    หงอนไก่ฟ้า                                             หญ้าฤดูเดียวหรือหลายฤดู ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ช่อย่อยออกเดี่ยว ๆ
                    Heritiera macrophylla Wall. ex Voigt                แบนด้านบนและด้านล่าง ไม่มีขนแข็งรองรับ กาบช่อดอกย่อยบางคล้ายเยื่อ กาบล่าง
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. โคนต้นมีพูพอน ใบรูปขอบขนาน ยาว 10-20 ซม. ปลายแหลม   มีเส้นกาบได้ถึง 9 เส้น หรือไม่มี กาบบนมีเส้นกาบ 3-15 เส้น ปลายตัดหรือมีรยางค์
                    โคนแหลมหรือเว้าตื้น แผ่นใบหนา ก้านใบยาว 2-4 ซม. โคนและปลายก้านบวม   ดอกย่อย มี 2 ดอก ดอกล่างไม่สมบูรณ์หรือเป็นดอกเพศผู้ ดอกบนสมบูรณ์เพศ
                    ช่อดอกยาว 5-10 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงสีน�้าตาลอมเขียว ยาว 5-6 มม. มี 5 กลีบ   กาบล่างแข็ง หนา เกล็ดประดับ 2 อัน เกสรเพศผู้ 3 อัน เมล็ดรูปรี
                    แฉกลึกถึงประมาณกึ่งหนึ่ง อับเรณู 6-8 อัน ผลย่อยรูปรี เบี้ยว มีเกล็ดขุยสีน�้าตาล   สกุล Panicum มีประมาณ 500 ชนิด พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ในไทยมี
                    ยาวได้ถึง 5 ซม. ปลายมีจะงอยคล้ายหางปลา ยาวประมาณ 1.5 ซม.  19 ชนิด ชื่อสกุลเป็นภาษาละตินหมายถึงช่อแยกแขนง
                       พบที่อินเดีย พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทางภาคเหนือที่ดอยตุง
                    จังหวัดเชียงราย ขึ้นตามป่าดิบเขา ความสูงประมาณ 1300 เมตร   หญ้ากินนี
                      เอกสารอ้างอิง                                     Panicum maximum Jacq.
                       Phengklai, C. (2011). Sterculiaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 573-584.  หญ้าหลายฤดู สูงได้ถึง 3 ม. ใบรูปแถบ ยาว 12-60 ซม. โคนมน ขอบมีขนสาก
                       Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Sterculiaceae. In Flora of China   แผ่นใบมีขนยาวหรือขนสั้นนุ่ม กาบใบยาว 15-40 ซม. คอใบมีขน ลิ้นใบเป็นเยื่อ
                          Vol. 12: 312-313.
                       Wilkie, P. and B. Ahmad. (2011). Sterculiaceae. In Tree Flora of Sabah and   ด้านหลังมีขนครุย ช่อดอกยาว 20-60 ซม. ช่อแขนงช่วงโคนเรียงเวียน ช่อดอกย่อย
                          Sarawak Vol. 7: 339-356.                      รูปขอบขนาน ยาว 3-4.5 มม. กาบช่อดอกย่อยล่างรูปไข่กว้าง ยาวประมาณ 1.2 มม.
                                                                        เส้นกาบ 3 เส้น กาบช่อดอกย่อยบน ยาวประมาณ 3.5 มม. เส้นกาบ 5 เส้น กาบดอก
                                                                        ล่างยาวประมาณ 3.7 มม. กาบดอกบนยาวประมาณ 2 มม. มีรอยย่นตัดขวาง
                                                                           พบในอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ ยุโรป แอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลีย และ
                                                                        นิวซีแลนด์ ในไทยปลูกเป็นพืชอาหารสัตว์
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Chen, S.L. and S.A. Renvoize. (2006). Poaceae (Panicum). In Flora of China
                                                                              Vol. 22: 513-514.


                      หงอนไก่ทะเล: ผลย่อยรูปรี มีสันตามยาวด้านบน ผิวเกลี้ยงเป็นเงา (ภาพ: ตรัง - AM); หงอนไก่ใบเล็ก: แผ่นใบ
                    ด้านล่างมีเกล็ดขุย ๆ ผลย่อยรูปรีหรือกลม ผิวด้าน (ภาพ: ระนอง - RP)








                                                                          หญ้ากินนี: ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ช่อแขนงช่วงโคนเรียงเวียน (ภาพ: หัวหิน ประจวบคีรีขันธ์ - RP)
                                                                        หญ้าข้าวก่ำา, สกุล
                                                                        Burmannia L.
                                                                        วงศ์ Burmanniaceae
                                                                           ไม้ล้มลุก มีใบแต่อาศัยเชื้อราหรืออาศัยเพียงบางส่วน ใบที่โคนต้นเป็นกระจุก
                                                                        ใบบนล�าต้นส่วนมากมีขนาดเล็กหรือกล้ายเกล็ด ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นช่อดอก
                      หงอนไก่ป่า: ผลย่อยรูปรี เกลี้ยง ปลายมีปีกคล้ายหางปลา (ภาพ: ภูลังกา นครพนม - NN)  แบบช่อกระจุกที่ยอด กลีบรวมเชื่อมติดกันเป็นหลอด ด้านข้างส่วนมากมี 3 ปีก


                                                                                                                    437






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   437                                                                 3/1/16   6:28 PM
   452   453   454   455   456   457   458   459   460   461   462