Page 454 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 454

โสมชบา
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                ใต้ใบย่อยคู่ล่าง ใบย่อยเรียงตรงข้าม อ่อนไหวต่อการสัมผัส รูปใบหอก เบี้ยว ยาว
                3-8 มม. ปลายมีติ่งแหลม โคนตัด เบี้ยว ขอบมีขนครุยประปราย ไร้ก้าน ดอกส่วนมาก
                ออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นช่อกระจะสั้น ๆ มี 2-3 ดอก ตามซอกใบ ใบประดับและ
                ใบประดับย่อยคล้ายหูใบ ก้านดอกยาว 0.5-1 ซม. มีขนสั้นนุ่ม กลีบเลี้ยง 5 กลีบ
                รูปใบหอก ยาว 4-8 มม. ดอกสีเหลือง มี 5 กลีบ รูปไข่กลับ ขนาดไม่เท่ากัน ยาวกว่า
                กลีบเลี้ยงเล็กน้อย มีก้านสั้น ๆ เกสรเพศผู้ 10 อัน ยาว 5 อัน สั้น 5 อัน เรียงสลับกัน
                ก้านชูอับเรณูยาว 1-2 มม. อับเรณูยาว 2-4 มม. มีรูเปิดที่ปลาย รังไข่มีขนสั้น
                ก้านเกสรเพศเมียเกลี้ยง ยอดเกสรแบน มีขนครุย ฝักรูปแถบ ยาว 3-6 ซม. มี
                10-20 เมล็ด เมล็ดรูปรี แบน ยาวประมาณ 4 มม.
                   พบทั่วไปในเขตร้อน ในไทยพบทุกภาค ขึ้นเป็นวัชพืช รากแก้บิด แก้ปวดท้อง
                ใบใช้ชงแทนชาในจีนและญี่ปุ่น ใบและต้นมีพิษ ใช้เบื่อปลา คล้ายกับ ซ่าขามค่อม
                C. leschennaultiana (DC.) O. Deg. ที่แกนใบประกอบเป็นร่อง และรังไข่มีขน
                แบบขนแกะ

                   สกุล Chamaecrista Moench อยู่วงศ์ย่อย Caesalpinioideae เผ่า Cassieae มี
                   ประมาณ 330 ชนิด ส่วนใหญ่พบในอเมริกาเขตร้อน ต่างจากสกุล Senna ที่
                   ไม่มีหูใบย่อย และกลีบดอกขนาดเท่า ๆ กัน ในไทยมี 4 ชนิด ชื่อสกุลมาจาก  โสมชบา: ส่วนต่าง ๆ มีขนสั้นนุ่มหรือขนหยาบยาว แผ่นใบรูปลูกศร ดอกออกเดี่ยว ๆ ริ้วประดับมี 6-12 อัน รูปเส้นด้าย
                   ภาษากรีก “chamae” เตี้ย แคระ และ “crista” สันหรือยอด ตามลักษณะวิสัย  ผลแห้งแตก เมล็ดรูปคล้ายไต (ภาพดอกสีชมพูอมแดง: สังขละบุรี กาญจนบุรี - SSi; ภาพดอกสีชมพูและผลอ่อน: เชียงดาว
                   และลักษณะของเกสรเพศผู้                            เชียงใหม่ - PK; ภาพดอกสีเหลือง: อุ้มผาง ตาก - RP; ภาพผลแตก: ห้วยขาแข้ง อุทัยธานี - PK)
                                                                     ใสกลีบ
                   เอกสารอ้างอิง
                   Chen, D., D. Zhang and K. Larsen. (2010). Fabaceae (Cassieae). In Flora of   Lysimachia deltoidea Wight var. cinerascens Franch.
                      China Vol. 10: 33.
                   Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae   วงศ์ Primulaceae
                      (Cassia mimosoides). In Flora of Thailand Vol. 4(1): 122-123.  ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 25 ซม. รากเหนียว มีขนสั้นนุ่มตามล�าต้น แผ่นใบทั้งสองด้าน
                                                                     กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก ใบที่โคนคล้ายเกล็ด มี 1-2 คู่ ใบช่วงบนเรียง
                                                                     ตรงข้ามหรือเรียงเวียน รูปรีกว้าง ยาว 1-2.5 ซม. ปลายมนหรือกลม โคนรูปลิ่ม มน
                                                                     หรือกลม บางครั้งด้านบนมีสีน�้าตาลแดง ก้านใบยาว 2-3 มม. ดอกออกเดี่ยว ๆ
                                                                     ตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ก้านดอกขยายและโค้งในผล ยาว 1-2.5 ซม. กลีบเลี้ยง
                                                                     รูปใบหอก ปลายแหลมยาว ยาว 4-5 มม. ดอกสีเหลือง หลอดกลีบยาวประมาณ
                                                                     1 มม. กลีบรูปรีหรือรูปไข่กลับ ปลายกลีบมน ยาว 5-6.5 มม. แผ่นกลีบมีต่อมใส
                                                                     เกสรเพศผู้ 5 อัน เชื่อมติดกันที่โคนเป็นวง ขนาดประมาณ 1 มม. ก้านชูอับเรณู
                                                                     ยาวประมาณ 2 มม. อับเรณูแตกด้านข้าง รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ
                                                                     3.5 มม. ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลแห้งแตก เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 มม. (ดูข้อมูล
                  โสนน้อย: ใบประกอบมีใบย่อยจ�านวนมาก ดอกส่วนมากออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นช่อกระจะสั้น ๆ มี 2-3 ดอก ตามซอกใบ   เพิ่มเติมที่ เหลืองสยาม, สกุล)
                กลีบดอกรูปไข่กลับ ขนาดไม่เท่ากัน เกสรเพศผู้มี 10 อัน ยาว 5 อัน สั้น 5 อัน (ภาพ: เขาพระวิหาร ศรีสะเกษ - RP)
                                                                       พบที่จีนตอนใต้ พม่า ลาว เวียดนาม ในไทยพบทางภาคเหนือที่เชียงใหม่ ขึ้นตาม
                โสมชบา                                               ชายป่าดิบเขาหรือป่าสน ความสูง 1000-1500 เมตร ส่วน var. deltoidea พบใน
                Abelmoschus sagittifolius (Kurz) Merr.               อินเดีย และศรีลังกา
                วงศ์ Malvaceae                                        เอกสารอ้างอิง
                  ชื่อพ้อง Hibiscus sagittifolius Kurz, Abelmoschus moschatus Medik. subsp.   Hu, C.M. (1999). Primulaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 160.
                                                                       Hu, Q. and S. Kelso. (1996). Primulaceae. In Flora of China Vol. 15: 59.
                    tuberosus (Span.) Borss. Waalk.
                   ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 2 ม. มีรากสะสมอาหารขนาดใหญ่ หนาได้ถึง 5 ซม. ส่วนต่าง ๆ
                มีขนสั้นนุ่มหรือขนหยาบยาว หูใบรูปเส้นด้าย ยาวได้ถึง 1 ซม. ใบที่โคนรูปไข่
                ใบช่วงกลางและปลายล�าต้นรูปลูกศรหรือรูปฝ่ามือ 3-5 พู พูรูปไข่ รูปขอบขนาน
                รูปใบหอก หรือรูปแถบ ปลายแหลมหรือมน ยาว 3-10 ซม. โคนแฉกลึก ขอบจัก
                ฟันเลื่อย ปลายจักส่วนมากมน ก้านใบยาว 4-8 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ ก้านดอกยาว
                4-7 ซม. ริ้วประดับมี 6-12 อัน รูปเส้นด้ายบานออก ยาวประมาณ 1.5 ซม. กลีบเลี้ยง
                ยาว 0.7-1.5 ซม. ด้านนอกมีขนละเอียด ดอกสีเหลืองนวล ขาว ชมพู หรือชมพูอมแดง
                ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 5-6 ซม. กลีบรูปไข่กลับ ยาว 2.5-3 ซม. เส้าเกสรยาว
                ประมาณ 2 ซม. เกลี้ยง เกสรเพศผู้ติดตลอดความยาว รังไข่มีขน ผลรูปไข่ ยาวได้ถึง
                                                                      ใสกลีบ: ใบเรียงตรงข้าม แผ่นใบด้านบนสีน�้าตาลแดง ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง เกสรเพศผู้ 5 อัน
                3 ซม. มีริ้วเป็นสันตามยาว เมล็ดรูปคล้ายไต มีต่อมกระจายตามเส้นร่างแห (ดูข้อมูล  เชื่อมติดกันที่โคนเป็นวง (ภาพ: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่ - RP)
                เพิ่มเติมที่ กระเจี๊ยบมอญ, สกุล)
                   พบที่อินเดีย จีน พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ออสเตรเลียตอนบน ในไทย  ไส้ปลาเข็ม
                พบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่ง ชายป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ป่าสนเขา ป่าดิบชื้น หรือ  Exacum pteranthum Wall. ex G. Don
                บนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร และเป็นไม้ประดับ มีความผันแปรสูง  วงศ์ Gentianaceae
                ทั้งรูปร่างของใบและสีของดอก                            ไม้ล้มลุก สูง 10-25 ซม. แตกกิ่งช่วงบน ใบเรียงตรงข้าม รูปไข่แกมรูปขอบขนาน

                  เอกสารอ้างอิง                                      ยาว 1-6 ซม. ปลายแหลม โคนเรียวสอบ เส้นโคนใบข้างละ 1-2 เส้น ก้านใบสั้น
                   Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Malvaceae. In Flora of China Vol.   หรือยาวได้ถึง 1 ซม. ช่อดอกสั้น ก้านดอกเกือบไร้ก้าน ใบประดับคล้ายใบ รูปใบหอก
                      12: 285.                                       ยาวประมาณ 5 มม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 5 กลีบ กลีบเลี้ยง

                434






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   434                                                                 3/1/16   6:27 PM
   449   450   451   452   453   454   455   456   457   458   459