Page 458 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 458

หญ้าข้าวก�่า
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                กลีบรวม 6 กลีบ เรียง 2 วง กลีบวงนอกขนาดใหญ่กว่ากลีบวงใน ติดทน หรือ  เอกสารอ้างอิง
                กลีบวงในลดรูป เกสรเพศผู้ 3 อัน ส่วนมากไร้ก้าน ติดบนหลอดกลีบ ปลายแกนอับเรณู  Chen, S.L. and S.M. Phillips. (2006). Poaceae (Cenchrus). In Flora of China
                                                                          Vol. 22: 552.
                มักมีรยางค์ 2 อัน โคนมีรยางค์คล้ายเดือยหรือไม่มี รังไข่ใต้วงกลีบ รูปสามเหลี่ยม   Duistermaat, H. (2005). Field guide to the grasses of Singapore (excluding the
                พลาเซนตารอบแกนร่วม มี 3 ช่อง ยอดเกสรเพศเมีย 3 แฉก คล้ายรูปปากหรือ  Bamboos). Gardens’ Bulletin Singapore 57: 37-38.
                รูปแตร ผลแห้งแตก เมล็ดขนาดเล็ก จ�านวนมาก

                   สกุล Burmannia มีประมาณ 57 ชนิด พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ในไทยมี
                   ประมาณ 12 ชนิด ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวดัตช์ Johannes Burman
                   (1707-1779)

                หญ้าข้าวก่ำา
                Burmannia disticha L.
                   ไม้ล้มลุก สร้างอาหารเองได้ ต้นที่มีดอกสูงได้ถึง 70 ซม. ล�าต้นสีเขียว ใบรูปใบหอก
                หรือรูปแถบ ยาว 2-15 ซม. ใบที่โคนต้นเรียงรอบโคนแบบช่อกระจุกซ้อน สั้นกว่า
                ใบบนต้นแต่กว้างกว่า ช่อดอกแบบช่อกระจุกด้านเดียว ช่อแยกเป็นคู่ แต่ละช่อ
                ยาวได้เกือบ 10 ซม. มีได้ถึง 20 ดอก ใบประดับรูปใบหอก ยาว 0.5-2.5 ซม.
                ดอกยาว 1-3 ซม. หลอดกลีบสีน�้าเงิน มี 3 ปีก กว้าง 1-3.5 มม. กลีบรวมสีเหลือง
                                                                      หญ้าขี้ครอก: ช่อดอกแยกแขนงรูปทรงกระบอกแคบ ๆ มีขนแข็งคล้ายหนาม กาบประดับเป็นขนแข็งเชื่อมติดกันที่โคน
                รูปสามเหลี่ยม วงนอกยาว 1.5-4.5 มม. ขอบซ้อน ติดทน วงกลีบในรูปใบหอก   รูปถ้วย (ภาพซ้าย: หัวหิน ประจวบคีรีขันธ์ - SSi); หญ้าสอนกระจับ: หนามหรือขนแข็งสั้น (ภาพขวา: นครราชสีมา - SSi)
                ยาว 1-2 มม. โคนอับเรณูมีเดือย รังไข่รูปรี ยาว 0.6-1.2 ซม. ผลแห้งแตก รูปไข่กลับ
                ยาวได้ถึง 2 ซม.                                      หญ้าไข่เหา, สกุล
                   พบที่อินเดีย เนปาล ศรีลังกา จีนตอนใต้ ไห่หนาน พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและ  Cyrtococcum Stapf
                มาเลเซีย ออสเตรเลีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นหนาแน่นตามทุ่งหญ้าที่ชื้นแฉะ หรือ  วงศ์ Poaceae
                ที่โล่งในป่าดิบเขา ความสูง 300-1500 เมตร
                                                                       หญ้าฤดูเดียวหรือหลายฤดู ลิ้นกาบบาง ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงออกที่ปลายกิ่ง
                  เอกสารอ้างอิง                                      ช่อดอกย่อยโป่งด้านเดียว กาบช่อดอกย่อยสั้นกว่าช่อดอกย่อย ขนาดไม่เท่ากัน
                   Jonker, F.P. (1948). Burmanniaceae. In Flora Malesiana Vol. 4: 15-19.  บางคล้ายเยื่อ เส้นกาบ 3-5 เส้น กาบล่างขนาดเล็กกว่ากาบบน กาบบนรูปเรือ
                   Wu, D., D. Zhang and R.M.K. Saunders. (2010). Burmanniaceae. In Flora of   ดอกล่างเป็นหมัน กาบล่างส่วนมากขนาดเท่ากับช่อดอกย่อย ดอกบนสมบูรณ์เพศ
                      China Vol. 23: 121-122.                        กาบบนขนาดเล็กหรือไม่มี กาบล่างโป่งด้านเดียว รูปเกือบกลม หนาหรือแข็ง
                                                                     เปราะ เรียบหรือมีจุดเล็ก ๆ เกล็ดประดับ 3 อัน รูปกรวย เกสรเพศผู้ 3 อัน

                                                                       สกุล Cyrtococcum แยกออกมาจากสกุล Panicum จากลักษณะกาบล่างของดอกบน
                                                                       โป่งด้านเดียว มี 11 ชนิด พบในเขตร้อน ในไทยมี 3 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
                                                                       “kyrtos” โค้ง และ “kokkos” ผลสด ตามลักษณะผลที่มีกาบโป่งด้านเดียว
                                                                     หญ้าไข่เหา
                                                                     Cyrtococcum patens (L.) A. Camus
                                                                      ชื่อพ้อง Panicum patens L.
                  หญ้าข้าวก�่า: ใบที่โคนต้นสั้นกว่าใบบนต้นแต่กว้างกว่า ช่อดอกแบบช่อกระจุกด้านเดียว ช่อแยกเป็นคู่ หลอดกลีบ
                สีน�้าเงิน มี 3 ปีก กลีบรวมสีเหลือง (ภาพ: เขาใหญ่ ปราจีนบุรี - SSi)  หญ้าฤดูเดียว สูง 10-60 ซม. ใบรูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาว 4.5-10 ซม. เกลี้ยง
                                                                     หรือมีขน โคนสอบเรียว กาบใบสั้นกว่าปล้อง ขอบมีขน คอใบมีขน ช่อดอกยาว
                หญ้าขี้ครอก                                          10-40 ซม. แกนช่อเป็นเหลี่ยม มีขน ช่อดอกย่อยออกเป็นคู่ รูปไข่กลับ ยาว 1.3-2 มม.
                Cenchrus brownii Roem. & Schult.                     ก้านช่อยาวกว่าช่อดอกย่อย ยาวประมาณ 3.8 มม. กาบรูปไข่กลับ กาบล่างปลายมน
                วงศ์ Poaceae                                         มีขนตามเส้นกาบ กาบบนปลายแหลม สั้นกว่าช่อดอกย่อยเล็กน้อย มีขนต่อม เส้น
                                                                     กาบ 3 เส้น ดอกล่างกาบรูปรี ดอกบนกาบหนา แข็ง ปลายมน
                   หญ้าฤดูเดียว สูง 30-50 ซม. กาบใบยาว 3-6.5 ซม. ใบรูปแถบ ยาว 12-28 ซม.   พบที่อินเดีย ศรีลังกา จีน พม่า ลาว เวียดนาม คาบสมุทรมลายู และออสเตรเลีย
                ลิ้นกาบบาง ขอบมีขนครุย ช่อดอกแยกแขนงรูปทรงกระบอกแคบ ๆ ยาว 4-10.5 ซม.   ในไทยพบทั่วทุกภาค ขึ้นตามชายป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา
                แกนช่อเป็นเหลี่ยม มีขนแข็งคล้ายหนาม กาบประดับเป็นขนแข็งเชื่อมติดกันที่  ความสูงถึงประมาณ 2000 เมตร แยกเป็น var. latifolium (Honda) Ohwi หรือ
                โคนรูปถ้วย ยาว 5-6 มม. ช่อดอกย่อยมี 3-6 ช่อ รูปใบหอก ยาว 4-5 มม. กาบบน  หญ้าง๊าด ใบและช่อดอกมีขนาดใหญ่กว่า
                รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 3 มม. มีเส้นกาบ 3 เส้น ดอกย่อยดอกล่างลดรูป
                เหลือเพียงกาบล่างรูปใบหอก ยาว 3.5-4 มม. เส้นกาบ 3 เส้น ดอกบนสมบูรณ์เพศ   หญ้าไข่เหาดอกแน่น
                กาบหนา กาบล่างรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 4 มม. เส้นกาบ 5 เส้น กาบบน
                รูปใบหอก มีสัน 2 สัน                                 Cyrtococcum oxyphyllum (Hochst. ex Steud.) Stapf
                                                                      ชื่อพ้อง Panicum oxyphyllum Hochst. ex Steud.
                   พบในอเมริกาเขตร้อน แอฟริกาตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย นิวกินี
                ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่งและชายป่า   หญ้าฤดูเดียว สูง 20-50 ซม. ใบรูปแถบ ยาว 5-18 ซม. โคนมน ขอบจักซี่ฟัน
                                                                     กาบใบยาวกว่าหรือยาวเท่า ๆ ปล้อง ช่อดอกยาว 5-8.7 ซม. ก้านช่อยาว 4.5-6 ซม.
                   สกุล Cenchrus L. มี 23 ชนิด พบในเขตร้อนและเขตอบอุ่น ในไทยมี 3 ชนิด   แกนกลางช่อ แบน เป็นเหลี่ยม ช่อดอกย่อยสีน�้าตาลแดง ออกเดี่ยว ๆ เรียงเวียน
                   อีก 2 ชนิด คือ หญ้าสอนกระจับ C. echinatus L. ขึ้นเป็นวัชพืช มีถิ่นกำาเนิด  ก้านช่อสั้นกว่าช่อดอกย่อย ช่อรูปไข่กลับ ยาวประมาณ 2.3 มม. ก้านยาว 0.5-1 มม.
                   ในอเมริกาเขตร้อน และ หญ้าบัฟเฟล C. ciliaris L. มีถิ่นกำาเนิดในแอฟริกา   กาบล่างรูปไข่ ยาวประมาณ 1.4 มม. สันกลางมีขน กาบบนรูปรี ยาวประมาณ
                   อินเดีย และปากีสถาน ไทยนำาเข้ามาปลูกเป็นพืชอาหารสัตว์ ชื่อสกุลมาจาก  1.7 มม. ดอกล่างลดรูป กาบล่างรูปขอบขนาน ไม่มีกาบบน ดอกบนกาบหนา
                   ภาษากรีก “kenchros” ข้าวฟ่าง                      ไม่มีเส้นกาบ กาบล่างรูปรี กาบบนรูปใบหอก

                438






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   438                                                                 3/1/16   6:28 PM
   453   454   455   456   457   458   459   460   461   462   463