Page 449 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 449
เสี้ยวภูลังกา สารานุกรมพืชในประเทศไทย แสงระวี
Phanera nakhonphanomensis (Chatan) Mackinder & R. Clark
วงศ์ Fabaceae
ชื่อพ้อง Bauhinia nakhonphanomensis Chatan
ไม้เถาเนื้อแข็ง แบนพับไปมา ยาวได้ถึง 30 ม. มีขนสั้นนุ่มสีน�้าตาลแดงหนาแน่น
ตามช่อดอก ใบประดับ และกลีบเลี้ยงด้านนอก ใบรูปไข่ ยาว 5-14.5 ซม. ปลายใบ
แหลมยาว ไม่แยกเป็นแฉก โคนใบตัดหรือเว้าตื้น เส้นใบ 5 เส้น แผ่นใบด้านบน
เป็นมันวาว โคนด้านล่างมีขน ก้านใบยาว 1-3 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะตั้งขึ้น
ยาว 10-20 ซม. ก้านดอกยาวได้ถึง 4 ซม. ใบประดับ 1 คู่ ติดที่โคนดอก รูปรี ยาว
ได้ถึง 1 ซม. กลีบเลี้ยงปลายแยก 5 แฉก รูปใบหอก ยาว 1.5-2.5 ซม. พับงอกลับ
ดอกสีชมพู กลีบรูปใบพาย ยาว 2.5-4 ซม. รวมก้านกลีบ มีขนแบบขนแกะสีขาว
ทั้งสองด้าน เกสรเพศผู้ 3 อัน ก้านชูอับเรณูยาวเท่า ๆ กลีบดอก โค้งเข้า เกสรเพศผู้
ที่เป็นหมันมี 6-7 อัน รังไข่มีขนคล้ายขนแกะ รังไข่รวมเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ เสี้ยวใหญ่: ช่อดอกแบบช่อกระจะแยกแขนงสั้น ๆ กลีบเลี้ยงสั้นกว่ากลีบดอกเล็กน้อย (ภาพ: ภูวัว บึงกาฬ - PK)
เกสรเพศผู้ ผลเป็นฝักแบน ยาวได้ถึง 10 ซม. ปลายมีจะงอย (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ แสงแดง, สกุล
แสลงพัน, สกุล) Colquhounia Wall.
พืชถิ่นเดียวของไทย พบที่ภูลังกา จังหวัดนครพนม ขึ้นตามชายป่า หรือที่โล่ง วงศ์ Lamiaceae
ใกล้ล�าธารในป่าดิบแล้ง ความสูง 150-250 เมตร
ไม้พุ่ม ส่วนต่าง ๆ มีขนสั้นนุ่มหรือขนรูปดาว ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก
เอกสารอ้างอิง ช่อดอกแบบช่อเชิงลดหรือช่อกระจุกสั้น ๆ ออกเป็นวงรอบกิ่ง ก้านดอกสั้นหรือ
Chatan, W. (2013). A new species of Bauhinia L. (Caesalpinioideae, Leguminosae) ไร้ก้าน กลีบเลี้ยงรูประฆัง มีเส้นกลีบ 10 เส้น ปลายแยกเป็น 5 แฉก ขนาดเท่า ๆ กัน
from Nakhon Phanom province, Thailand. PhytoKeys 26: 1-5. กลีบดอกรูปปากเปิด กลีบปากบนยาวกว่ากลีบปากล่าง ปลายมนหรือจักตื้น ๆ
ปากล่างแยกเป็น 3 กลีบ ขนาดเท่า ๆ กัน บานออก เกสรเพศผู้ 2 คู่ คู่หน้า
ยาวกว่าคู่หลัง อับเรณูกางออก รังไข่เกลี้ยงหรือมีต่อม ก้านเกสรเพศเมียปลาย
แยก 2 แฉก มักไม่เท่ากัน ผลย่อยแบบเปลือกแข็งเมล็ดล่อน รูปไข่กลับแคบ ๆ
โป่งด้านเดียว ปลายมีปีก ส่วนมากมี 4 เมล็ด
สกุล Colquhounia อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Lamioideae มีประมาณ 6 ชนิด พบใน
ประเทศแทบเทือกเขาหิมาลัย จีน พม่า และเวียดนาม ในไทยมี 2 ชนิด ชื่อสกุลตั้ง
ตามชาวบริติช Sir Robert Colquhoun (1786-1838) ผู้เก็บตัวอย่างพรรณไม้และผู้ที่
สนับสนุนทางการเงินสวนพฤกษศาสตร์กัลกัตตา ในอินเดีย
แสงแดง
Colquhounia coccinea Wall. var. mollis (Schltdl.) Prain
ชื่อพ้อง Colquhounia mollis Schltdl.
ไม้พุ่ม สูง 1-4 ม. มีขนรูปดาวสั้นนุ่มหนาแน่นตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง ช่อดอก
เสี้ยวภูลังกา: ช่อดอกแบบช่อกระจะตั้งขึ้น มีขนสั้นนุ่มสีน�้าตาลแดงหนาแน่น ใบประดับติดที่โคนดอก กลีบดอกรูป
ใบพาย มีขนแบบขนแกะสีขาว ฝักแบน ปลายมีจะงอย (ภาพ: ภูลังกา นครพนม; ภาพดอก - SSi, ภาพผล - SSa) และกลีบดอก ใบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 7-11 ซม. ปลายแหลมยาว โคนมน
หรือกลม ขอบจักมน ใบประดับขนาดเล็ก รูปแถบ กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาวประมาณ
เสี้ยวใหญ่ 6 มม. เส้นกลีบไม่ชัดเจน กลีบยาวประมาณ 1 มม. ดอกสีแดงอมส้ม ยาว 2-2.5 ซม.
Bauhinia malabarica Roxb. หลอดกลีบดอกยาว 1.7-2.3 ซม. ปากบนรูปไข่ จักตื้น ๆ รังไข่มีตุ่มกระจาย
วงศ์ Fabaceae พบที่ภูฏาน อินเดีย เนปาล พม่า จีน และภาคเหนือของไทยที่ดอยเชียงดาว
ไม้พุ่ม รอเลื้อย หรือไม้ต้นขนาดเล็ก แยกเพศต่างต้น มีขนสั้นนุ่มตามช่อดอก จังหวัดเชียงใหม่ ขึ้นตามที่โล่งบนเขาหินปูน ความสูง 1600-2200 เมตร ส่วน var.
ก้านดอก และตาดอก ใบรูปไข่กว้าง ยาว 5-9 ซม. ปลายแฉกตื้น ๆ โคนใบตัดหรือ coccinea กิ่งและแผ่นใบด้านล่างมีขนประปราย พบที่อินเดีย ภูฏาน เนปาล และจีน
เว้าตื้น แผ่นใบด้านล่างมีนวล เกลี้ยงหรือมีขนสั้นนุ่ม เส้นใบ 9-11 เส้น ก้านใบ
ยาว 2-4 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะแยกแขนงสั้น ๆ ยาวได้ถึง 5 ซม. ดอกหนาแน่น แสงระวี
ใบประดับขนาดเล็กรูปสามเหลี่ยม ก้านดอกยาว 1-2 ซม. ใบประดับย่อยติดบน Colquhounia elegans Wall. ex Benth.
ก้านดอก ตาดอกรูปรี ยาว 6-10 มม. ฐานดอกสั้น กลีบเลี้ยงสั้นกว่ากลีบดอกเล็กน้อย ไม้พุ่ม สูง 1-3 ม. มีขนสั้นนุ่มสีน�้าตาลแดงตามกิ่ง แผ่นใบ ช่อดอก กลีบเลี้ยง
ปลายแยกเป็น 3-5 แฉก ตื้น ๆ ดอกสีขาว กลีบรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 1 ซม. และกลีบดอกด้านนอก ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 4.5-8.5 ซม. ปลายแหลมยาว
ก้านกลีบสั้นมาก เกสรเพศผู้ 10 อัน เรียง 2 วง สั้นกว่ากลีบดอก วงนอกยาวกว่า โคนแหลม มน หรือกลม ขอบจักมนเป็นติ่ง ใบประดับคล้ายใบ รูปไข่ ยาว 2-3 ซม.
วงในเล็กน้อย อับเรณูยาวประมาณ 2 มม. เป็นหมันในดอกเพศเมีย รังไข่มีขนสั้นนุ่ม ใบประดับย่อยยาว 2-3 มม. ก้านดอกยาว 1-2 มม. กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาว 0.6-1 ซม.
มีก้านสั้น ๆ ยอดเกสรเพศเมียรูปจาน ฝักรูปแถบ แบน ยาว 20-25 ซม. ปลายมี กลีบรูปสามเหลี่ยม ยาว 2-3 มม. ดอกสีแดงหรืออมสีเหลือง ยาว 2.5-2.8 ซม.
จะงอย มี 10-30 เมล็ด เมล็ดรูปขอบขนาน (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ชงโค, สกุล) หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 2.3 ซม. ปากบนรูปขอบขนาน ปลายมนหรือเว้าตื้น ๆ
พบที่อินเดีย พม่า ภูมิภาคอินโดจีน ชวา และฟิลิปปินส์ ในไทยพบทุกภาค รังไข่มีตุ่มกระจาย
ภาคใต้ถึงชุมพร ขึ้นตามชายป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึง พบที่พม่า จีน และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยส่วนมากพบทางภาคเหนือ และ
ประมาณ 400 เมตร ดอกแก้ปวดท้อง แก้บิด ใบมีสรรพคุณกระตุ้นก�าหนัด แก้ไข้ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่เลย ขึ้นตามชายป่าดิบแล้ง ป่าดิบเขา หรือบนเขาหินปูน
เปลือกใช้พอกแผลสด ความสูงถึงประมาณ 2000 เมตร แยกเป็น var. tenuiflora (Hook. f.) Prain
ส่วนต่าง ๆ มีขนประปราย กลีบเลี้ยงสั้นกว่า
เอกสารอ้างอิง
Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae. เอกสารอ้างอิง
In Flora of Thailand Vol. 4(1): 19-20. Li, X.W. and I.C. Hedge. (1994). Lamiaceae. In Flora of China Vol. 17: 185-186.
429
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 429 3/1/16 6:26 PM