Page 448 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 448

เสี้ยวป่า
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                     กลีบในรูปสามเหลี่ยม ยาว 5-7 มม. ม้วนงอ ปลายแหลมยาว กลีบข้างรูปใบหอก
                                                                     ยาว 0.6-1 ซม. มีขนด้านใน เกสรเพศผู้ 3 อัน ก้านชูอับเรณูยาว 2-3 ซม. เกสรเพศผู้
                                                                     เป็นหมัน 2 อัน รังไข่มีขนคล้ายไหม ก้านเกสรเพศเมียยาว 1-1.2 ซม. ฝักแบน
                                                                     รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 10 ซม. ปลายมีจะงอย (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ แสลงพัน, สกุล)
                                                                       พบที่ลาว และกัมพูชา ในไทยพบทางภาคตะวันออกที่สุรินทร์ ศรีสะเกษ ขึ้นตาม
                                                                     ป่าดิบแล้ง ความสูง 200-300 เมตร var. saigonensis ก้านดอกยาว ส่วน var.
                                                                     poilanei (K. Larsen & S. S. Larsen) Mackinder & R. Clark ช่อดอกมีขนสั้น
                                                                     หนานุ่มปกคลุม และก้านรังไข่มีขนยาว พบเฉพาะในเวียดนาม

                  เสี้ยวแดง: ใบแฉกลึก ช่อดอกแบบช่อกระจะ มีขนยาวสีน�้าตาลแดง กลีบดอกรูปใบหอก สั้น 3 กลีบ ยาว 2 กลีบ   เอกสารอ้างอิง
                เกสรเพศผู้ 3 อัน รังไข่เกลี้ยง จานฐานดอกสีเหลือง (ภาพ: มุกดาหาร - PK)  Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1980). Leguminosae-Caesalpinioideae
                                                                          (Bauhinia). Flore du Cambodge du Laos et du Vietnam 18: 195-197.
                เสี้ยวป่า                                              ________. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae (Bauhinia saigonensis). In
                Bauhinia saccocalyx Pierre                                Flora of Thailand Vol. 4(1): 35-37.
                วงศ์ Fabaceae
                   ไม้พุ่มรอเลื้อย หรือไม้ต้นขนาดเล็ก แยกเพศต่างต้น มีขนและต่อมสีน�้าตาล
                ตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง ช่อดอก และตาดอก ใบรูปไข่กว้าง ยาว 5-9 ซม. ปลายแฉก
                ถึงประมาณกึ่งหนึ่ง โคนเว้าตื้น เส้นใบ 9-11 เส้น ก้านใบยาว 2-3 ซม. ช่อดอกแบบ
                ช่อกระจะแยกแขนงสั้น ๆ ออกตามซอกใบ ยาวได้ถึง 7 ซม. ดอกหนาแน่น ใบประดับ
                ขนาดเล็ก ก้านดอกยาว 2-3 มม. ใบประดับย่อยติดใต้จุดกึ่งกลางก้านดอก ตาดอก
                รูปรี ยาวประมาณ 5 มม. กลีบเลี้ยงคล้ายกาบ ดอกสีขาวหรืออมสีชมพู กลีบรูปไข่กลับ
                ยาว 0.7-1 ซม. ก้านกลีบสั้น เกสรเพศผู้ 10 อัน วงนอกยาวประมาณ 6 มม. วงใน
                ยาวประมาณกึ่งหนึ่งของวงนอก อับเรณูยาวประมาณ 1 มม. เป็นหมันในดอกเพศเมีย
                                                                      เสี้ยวพระวิหาร: ช่อดอกรูปพีระมิด มี 1-3 ช่อ ออกตามปลายกิ่ง กลีบดอกกลีบในรูปสามเหลี่ยม ม้วนงอ ปลายแหลมยาว
                รูปเส้นด้าย รังไข่มีขน ยาวประมาณ 1 ซม. มี ก้านสั้น ๆ ยอดเกสรเพศเมียรูปจาน   เกสรเพศผู้ 3 อัน รังไข่มีขนคล้ายไหม ฝักแบน รูปขอบขนาน (ภาพ: เขาพระวิหาร ศรีสะเกษ - RP)
                ฝักเกลี้ยง รูปใบหอกหรือรูปแถบ แบน ยาว 7-14 ซม. ปลายกว้าง มีจะงอย มี 3-5 เมล็ด
                เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.2-1.5 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ชงโค, สกุล)  เสี้ยวฟ่อม
                   พบที่ลาว ในไทยพบทุกภาคยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามชายป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง   Bauhinia viridescens Desv.
                ที่โล่ง หรือบนเขาหินปูน ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร    วงศ์ Fabaceae

                  เอกสารอ้างอิง                                        ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 4 ม. แยกเพศต่างต้น หูใบปลายมีขนแข็ง ใบรูปไข่กว้าง ยาว
                   Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae.   6-15 ซม. ปลายใบแฉกลึก ปลายแฉกมนหรือแหลม โคนเว้าตื้น ก้านใบยาว 2-5 ซม.
                      In Flora of Thailand Vol. 4(1): 20-21.         ช่อดอกแบบช่อกระจะเรียวยาว ยาว 5-15 ซม. ใบประดับรูปลิ่มแคบ ยาว 2-5 มม.
                                                                     ก้านดอกยาว 2-3 มม. ใบประดับย่อยขนาดเล็ก ตาดอกรูปรีหรือรูปกระสวย ยาว
                                                                     0.6-1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปใบพาย ดอกสีเขียวอ่อน กลีบรูปใบหอกแกมรูปไข่กลับ ยาว
                                                                     0.7-1.2 ซม. เกสรเพศผู้ 10 อัน สั้นกว่ากลีบดอก วงนอกยาวกว่าวงในเล็กน้อย
                                                                     เป็นหมันในดอกเพศเมีย รังไข่มีก้านสั้น ๆ ก้านเกสรเพศเมียสั้นมาก มีขนสั้นนุ่ม
                                                                     ยอดเกสรรูปโล่ ฝักรูปแถบ ยาว 5-7 ซม. มี 6-10 เมล็ด รูปรี แบน ยาวประมาณ
                                                                     3 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ชงโค, สกุล)
                                                                       พบที่จีนตอนใต้ พม่า อินโดจีน และอินโดนีเซีย ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้น
                                                                     ภาคใต้ ขึ้นตามชายป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง และป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ
                                                                     800 เมตร แยกเป็น var. hirsuta K. Larsen & S. S. Larsen พืชถิ่นเดียวของไทย
                                                                     พบที่กาญจนบุรี มีขนหนาแน่นตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง และช่อดอก
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Larsen, K., S.S. Larsen and J.E. Vidal. (1984). Leguminosae-Caesalpinioideae
                                                                          (Bauhinia viridescens). In Flora of Thailand Vol. 4(1): 16-17.
                  เสี้ยวป่า: ช่อดอกเพศผู้มีเกสรเพศผู้ 10 อัน เรียง 2 วง ขนาดไม่เท่ากัน เป็นหมันในดอกเพศเมีย รังไข่มีขน ฝักรูปใบหอก
                ปลายกว้าง มีจะงอยสั้น (ภาพดอกเพศผู้และฝัก: เขาหน่อ นครสวรรค์, ภาพดอกเพศเมีย ภาพขวา: ลพบุรี; - RP)
                เสี้ยวพระวิหาร
                Phanera saigonensis (Pierre ex Gagnep.) Mackinder & R. Clark var.
                    gagnepainiana (K. Larsen & S. S. Larsen) Mackinder & R. Clark
                วงศ์ Fabaceae
                  ชื่อพ้อง Bauhinia saigonensis Pierre ex Gagnep. var. gagnepainiana K. Larsen
                    & S. S. Larsen
                   ไม้เถา ยาวได้ถึง 15 ม. มีมือเกาะ ใบรูปไข่กว้าง ยาว 3-8 ซม. ปลายแฉกลึกถึง
                ประมาณกึ่งหนึ่ง ก้านใบยาว 1.5-2 ซม. ช่อดอกรูปพีระมิด ออกตามปลายกิ่ง มี 1-3 ช่อ
                ยาวได้ถึง 15 ซม. มีขนสีน�้าตาลประปราย ตาดอกยาวประมาณ 1 ซม. รูปเคียว
                ปลายแยกเป็น 5 แฉก สั้น ๆ ใบประดับรูปใบหอก ยาว 0.8-1.2 ซม. ใบประดับย่อย
                รูปแถบ ยาวประมาณ 7 มม. ติดประมาณกึ่งกลางก้านดอก ก้านดอกยาวได้ถึง 1.5 ซม.   เสี้ยวฟ่อม: ช่อดอกแบบช่อกระจะเรียวยาว เกสรเพศผู้เป็นหมันในดอกเพศเมีย ยอดเกสรรูปโล่ ฝักรูปแถบ
                ฐานดอกเป็นหลอด ยาว 3-6 มม. กลีบเลี้ยงรูปแถบ ยาว 1-1.5 ซม. ดอกสีขาวอมเขียว   (ภาพ: บ้านตาก ตาก - RP)

                428






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   428                                                                 3/1/16   6:26 PM
   443   444   445   446   447   448   449   450   451   452   453