Page 450 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 450

แสดสยาม
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                     มีขนสั้นนุ่ม มักมีนวล ก้านใบสั้นหรือยาวได้ถึง 1.8 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น
                                                                     แยกแขนง ก้านช่อยาว 1-2.5 ซม. ใบประดับและใบประดับย่อยขนาดเล็ก ติดทน
                                                                     ดอกออกตรงข้ามกัน ไร้ก้าน ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 5 มม. ด้านนอก
                                                                     มีขนสั้นนุ่ม กลีบเลี้ยงรูปถ้วย แฉกลึก 5 กลีบ ขอบมีขนครุย เรียงซ้อนเหลื่อมที่โคน
                                                                     ติดทน ดอกรูประฆัง ส่วนมากมี 4 กลีบ เกสรเพศผู้ 4 อัน ติดใกล้ปากหลอด
                                                                     ระหว่างกลีบดอก ยื่นพ้นปากหลอดกลีบเล็กน้อย รังไข่มี 4 ช่องไม่สมบูรณ์ มีขนสั้นนุ่ม
                                                                     พลาเซนตารอบแกนมีปีก ยอดเกสรเพศเมียจักตื้น ๆ 2 พู ผลแห้งแตกเป็น 2 ส่วน
                                                                     รูปไข่ เส้นผ่านศูนย์กลางยาวได้ถึง 1.2 ซม. มีขนสั้นนุ่ม
                                                                       พบที่แอฟริกา จีน ไห่หนาน ไต้หวัน เอเชียใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และ
                                                                     ออสเตรเลีย ขึ้นหนาแน่นในป่าโกงกาง มีความผันแปรสูง แยกเป็นหลายชนิดย่อย
                                                                     เปลือกใช้สมานแผล ห้ามเลือด

                  แสงแดง: ถิ่นที่อยู่บนเขาหินปูนที่เปิดโล่ง มีขนรูปดาวสั้นนุ่มหนาแน่น ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ช่อดอกแบบ   สกุล Avicennia L. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Avicenniaceae และ Verbenaceae
                ช่อเชิงลดหรือช่อกระจุกสั้น ๆ ออกเป็นวงรอบกิ่ง (ภาพ: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่ - MS)  ปัจจุบันอยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Avicennioideae มีประมาณ 10 ชนิด พบในเขตร้อน
                                                                       และกึ่งเขตร้อน ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ แสมดำา A. officinalis L. ปลายใบ
                                                                       มนกลม ชื่อสกุลตั้งตามนักปราชญ์และแพทย์ชาวเปอร์เซีย Avicenna (980-1037)
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Chen, S.L. and M.G. Gilbert. (1994). Verbenaceae. In Flora of China Vol. 17: 49.



                  แสงระวี: var. elegans มีขนสั้นนุ่มสีน�้าตาลแดงกระจาย ใบประดับคล้ายใบ (ภาพซ้าย: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่ - PR);
                แสงระวี: var. tenuiflora ส่วนต่าง ๆ มีขนประปราย กลีบเลี้ยงสั้นกว่า (ภาพขวา: ดอยตุง เชียงราย - MB)
                แสดสยาม
                Goniothalamus repevensis Pierre ex Finet & Gagnep.
                วงศ์ Annonaceae
                   ไม้พุ่ม สูง 1-2 ม. ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 12-16 ซม. ปลายแหลม
                                                                      แสมขาว: ใบเรียงตรงข้าม ปลายแหลมหรือแหลมมน ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่น แยกแขนง ดอกออกตรงข้ามกัน
                หรือแหลมยาว โคนรูปลิ่ม แผ่นใบหนา เส้นแขนงใบข้างละ 10-12 เส้น ก้านใบยาว   ไร้ก้าน ดอกรูประฆัง เกสรเพศผู้ติดใกล้ปากหลอดกลีบระหว่างกลีบดอก (ภาพ: สมุทรสาคร - PK)
                6-8 มม. ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบที่หลุดร่วงตามกิ่ง ก้านดอกยาวประมาณ 1 ซม.
                กลีบเลี้ยงยาว 3-5 มม. เชื่อมติดกันที่โคน ปลายแยกเป็นแฉกรูปสามเหลี่ยม
                ขนาดเล็ก ดอกสีชมพูหรือขาว กลีบวงนอก 3 กลีบ รูปไข่ ปลายแหลมยาว ยาว
                ประมาณ 2.5 ซม. วงใน 3 กลีบ รูปไข่ ปลายแหลม ยาว 5-8 มม. เรียงประกบกัน
                ด้านนอกมีขนละเอียด มีก้านสั้น ๆ ผลย่อยมี 5-10 ผล รูปทรงกระบอก ปลายแหลม
                ยาว 2-2.5 ซม. ก้านผลย่อยยาวประมาณ 5 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ปาหนัน, สกุล)
                   พบที่ภูมิภาคอินโดจีน และภาคตะวันออกเฉียงใต้ของไทยที่จันทบุรี ขึ้นตาม
                ป่าดิบชื้น ความสูง 600-900 เมตร และเป็นไม้ประดับ
                  เอกสารอ้างอิง
                   Saunders, R. and P. Chalermglin. (2008). A synopsis of Goniothalamus species   แสมด�า: ปลายใบมนกลม (ภาพ: อ่าวพังงา พังงา - SR)
                      (Annonaceae) in Thailand, with descriptions of three new species. Botanical
                      Journal of the Linnean Society 156: 371.       แส้ม้าฮ่อ
                                                                     Dapsilanthus disjunctus (Mast.) B. G. Briggs & L. A. S. Johnson
                                                                     วงศ์ Restionaceae
                                                                      ชื่อพ้อง Leptocarpus disjunctus Mast.
                                                                       ไม้ล้มลุก แตกกอหนาแน่น สูงได้ถึง 1 ม. แยกเพศต่างต้นหรือมีดอกสมบูรณ์เพศ
                                                                     ร่วมต้น เหง้าทอดเลื้อย มีเกล็ดเรียงซ้อนเหลื่อม ต้นอ่อนมีขนคล้ายขนแกะหนาแน่น
                                                                     ล�าต้นกลวง เหนียว มีกาบยาว 1-3 ซม. ปลายเรียวแหลม ขอบมีขนคล้ายไหม
                                                                     ใบขนาดเล็กแนบติดล�าต้น ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ช่อย่อยแบบช่อเชิงลด
                                                                     เป็นกระจุกแน่น ใบประดับรูปไข่แคบ สีน�้าตาลแดง ยาว 2-2.5 มม. ช่อดอกเพศผู้

                  แสดสยาม: ดอกออกเดี่ยว ๆ ตามซอกใบที่หลุดร่วงตามกิ่ง ดอกสีชมพูหรือขาว กลีบเลี้ยงขนาดเล็กเชื่อมติดกันที่โคน   มีดอกเดียว กลีบรวมมี 4-6 กลีบ คู่นอกเรียงตรงข้าม รูปเรือ ยาวประมาณ 2 มม.
                กลีบดอกวงนอก 3 กลีบ ยาวมากกว่ากลีบวงใน (ภาพ: เขาสอยดาว จันทบุรี - SSi)  กลีบในแคบและสั้นกว่าเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 3 อัน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 1.5 มม.
                                                                     ปลายอับเรณูเป็นติ่งแหลม ช่อดอกเพศเมียมี 3-5 ดอก กลีบรวมมี 6-8 กลีบ สั้นกว่า
                แสมขาว                                               ในดอกเพศผู้เล็กน้อย รังไข่มีช่องเดียว ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรแยก 3 แฉก
                Avicennia marina (Forssk.) Vierh.                    ผลแห้งแตกด้านเดียว รูปรี ยาว 0.5-1 มม.
                วงศ์ Acanthaceae                                       พบที่จีนตอนใต้ ไห่หนาน ภูมิภาคอินโดจีน และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบ
                  ชื่อพ้อง Sceura marina Forssk., Avicennia alba Blume  ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้
                   ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. กิ่งอ่อนมักเป็นสี่เหลี่ยม ใบเรียงตรงข้าม รูปรีหรือ  ขึ้นตามทุ่งหญ้าที่ชื้นแฉะ โดยเฉพาะใกล้ชายทะเลและภูเขาหินทราย ความสูงถึง
                รูปไข่ ยาว 2-7 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมมน โคนเรียวสอบ แผ่นใบหนา ด้านล่าง  ประมาณ 400 เมตร ล�าต้นใช้ท�าไม้กวาด

                430






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   430                                                                 3/1/16   6:26 PM
   445   446   447   448   449   450   451   452   453   454   455