Page 446 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 446

เสลดพังพอน
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                คล้ายรูปเคียว เส้นโคนใบข้างละ 1-3 เส้น เป็นสันนูน ก้านใบยาว 2-4 มม. แบน
                ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ยาว 6-17 ซม. ปลายช่อมักแทงเป็นยอดใหม่ ดอกออกเป็น
                กระจุก 1-3 ดอก ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ดอกไร้ก้าน ฐานดอกรูปไข่ กลีบเลี้ยง
                5 กลีบ ยาว 1-2 มม. ติดทน กลีบดอกสีขาวรูปกลม ยาว 2-3 มม. เกสรเพศผู้
                จ�านวนมาก ติดเป็น 5 กลุ่มตรงข้ามกลีบดอก ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 1 ซม.
                แกนอับเรณูปลายเป็นต่อม รังไข่ใต้วงกลีบ ปลายมีขนคล้ายไหม ก้านเกสรเพศเมีย
                ยาวเท่า ๆ เกสรเพศผู้ ยอดเกสรรูปเส้นด้าย ผลแห้งแตกเป็น 3 ซีก รูปรีกว้างเกือบกลม
                ยาว 2-3 มม. มีหลายเมล็ด เรียวแคบ ยาวประมาณ 1 มม.      เสลดพังพอน: ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉาก ช่อดอกแบบช่อเชิงลด กลีบดอกบนเรียงซ้อนแผ่ชิดกัน (ภาพ: cultivated - RP)
                   พบที่อินเดีย พม่า กัมพูชา เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย และออสเตรเลีย ในไทยพบ  เสลาขาว
                ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นหนาแน่นตามป่าชายหาดหรือป่าเสม็ด ส่วน   Lagerstroemia tomentosa C. Presl
                subsp. cajuputi และ subsp. platyphylla Barlow พบที่อินโดนีเซีย นิวกินี
                และออสเตรเลีย ใบให้น�้ามันหอมระเหย cajuput oil มีสรรพคุณใช้ทาผิวหนังกันแมลง   วงศ์ Lythraceae
                ผดผื่นคัน และแก้ปวดฟัน เปลือกใช้มุงหลังคา              ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 20-35 ม. เปลือกนอกสีน�้าตาลถึงเทาเข้ม แตกตามยาว มีขน
                                                                     รูปดาวและขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน แผ่นใบด้านล่าง ช่อดอก กลีบเลี้ยงด้านนอก
                   สกุล Melaleuca L. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Myrtoideae มีประมาณ 220 ชนิด    รังไข่ และผลอ่อน ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 7-18 ซม. ปลายแหลมหรือ
                   ส่วนมากพบในออสเตรเลีย ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “melas”   แหลมยาว โคนมนหรือกลม ก้านใบยาว 4-8 มม. ช่อดอกส่วนมากออกที่ปลายกิ่ง
                   สีดำา และ “leukos” สีขาว ตามลักษณะเปลือกที่มีสีขาวและสีดำา  ยาวได้ถึง 40 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงยาว 3-4 มม. มีประมาณ 12 สัน ปลายแยก
                  เอกสารอ้างอิง                                      เป็นรูปสามเหลี่ยม 5-6 แฉก ยาวประมาณ 3 มม. ด้านนอกมีขนหนาแน่น ด้านใน
                   Chen, J. and L.A. Craven. (2007). Myrtaceae. In Flora of China Vol. 13: 328-329.  เกลี้ยง ติดทน ดอกสีขาวหรืออมม่วงอ่อน มี 5-6 กลีบ รูปไข่กลับ ยาว 1-1.5 ซม.
                   Parnell, J. and P. Chantaranothai. (2002). Myrtaceae. In Flora of Thailand Vol.   รวมก้านกลีบที่ยาว 3-5 มม. ขอบเป็นคลื่น แผ่นกลีบย่น เกสรเพศผู้ที่สมบูรณ์มี
                      7(4): 801-803.                                 6-7 อัน ยาวและหนา ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1.5 ซม. ผลแห้งแตกเป็น
                                                                     6 ซีก รูปขอบขนาน ยาว 1-1.7 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตะแบก, สกุล)
                                                                       พบที่จีนตอนใต้ พม่า เวียดนาม ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตาม
                                                                     ป่าเบญจพรรณ และป่าเต็งรัง ความสูงถึงประมาณ 1150 เมตร

                                                                     เสลาดำา
                                                                     Lagerstroemia venusta Wall. ex C. B. Clarke
                                                                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 25 ม. เปลือกหนาสีน�้าตาลหรือเทาปนด�า แตกเป็นร่องลึก
                                                                     ตามยาว มีขนละเอียดตามกิ่ง เส้นแขนงใบด้านล่าง ช่อดอก กลีบเลี้ยงด้านนอก
                                                                     ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 8-15 ซม. ปลายแหลม มน หรือกลม โคนเบี้ยว ก้านใบ
                                                                     ยาว 0.3-1 ซม. ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 30 ซม. ก้านดอกเทียมยาว 1-4 มม.
                                                                     หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 5 มม. มี 6 สัน ปลายแยกเป็น 6 กลีบ รูปสามเหลี่ยม
                                                                     ยาว 3-4 มม. ระหว่างกลีบมีติ่งยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง ติดทน ดอกสีชมพูอมม่วง
                                                                     มี 6 กลีบ รูปไข่ ยาว 7-9 มม. รวมก้านกลีบที่ยาว 2-3 มม. ขอบกลีบเป็นคลื่น
                  เสม็ด: เปลือกลอกเป็นชั้น ๆ ใบคล้ายรูปเคียว เส้นโคนใบข้างละ 1-3 เส้น ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ปลายช่อมักแทง  เกสรเพศผู้จ�านวนมาก มี 6-7 อันด้านนอกยาวกว่าอันด้านใน รังไข่เกลี้ยง
                ยอดใหม่ ดอกออกเป็นกระจุก 1-3 ดอก ไร้ก้าน ผลรูปกลม ๆ (ภาพซ้าย: หาดเจ้าไหม ตรัง - MP; ภาพขวา: ชุมพร - RP)
                                                                     เกสรเพศเมียเรียวยาว ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลแห้งแตกเป็น 4-5 ซีก รูปรี ยาว 1.5-2.5 ซม.
                เสลดพังพอน                                           (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตะแบก, สกุล)
                Barleria lupulina Lindl.                               พบที่จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค ยกเว้นภาคใต้
                วงศ์ Acanthaceae                                     ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง ความสูง 150-800 เมตร
                   ไม้พุ่ม สูง 1-2 ม. ใบเรียงตรงข้ามสลับตั้งฉากชิดกันใกล้ช่อดอก รูปใบหอก   เอกสารอ้างอิง
                ยาว 4-10 ซม. ปลายแหลมเป็นติ่ง โคนสอบเรียว แผ่นใบเกลี้ยงสีเขียวเข้มหรือ  de Wilde, W.J.J.O., B.E.E. Duyfjes and P. Phonsena. (2014). Lythraceae. In
                อมม่วง เส้นกลางใบมักมีสีแดงหรืออมชมพู ก้านใบสั้น มีหนามที่โคนหนึ่งคู่ โค้งงอ   Flora of Thailand Vol. 11(4): 576-580.
                ยาว 1-2 ซม. มีหนามสั้น ๆ ตรง 1 อัน ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกตามปลายกิ่ง
                ยาว 8-10 ซม. ใบประดับสีน�้าตาลอมม่วง โคนสีเขียว หรือทั้งใบสีแดงอมเขียว
                หรือม่วงอมน�้าตาล รูปไข่กว้าง ยาวได้ถึง 1.5 ซม. ปลายเป็นติ่งแหลม กลีบเลี้ยง
                ยาว 0.8-1 ซม. คู่นอกขนาดใหญ่กว่าคู่ใน ปลายมีติ่งหนาม ดอกสีส้มหรือเหลือง
                หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 3 ซม. กลีบบน 4 กลีบ เรียงซ้อนแผ่ชิดกัน ยาว
                1-2 ซม. กลีบล่างขนาดเล็ก พับงอเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 2 อัน ยาวประมาณ 2 ซม.
                ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 2 อัน ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ
                3 ซม. ผลรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน แบน ยาวประมาณ 1.5 ซม. มี 2 ซีก แต่ละซีก   เสลาขาว: ช่อดอกส่วนมากออกที่ปลายกิ่ง ผลแห้งแตกเป็น 6 ซีก (ภาพ: ขุนวิน เชียงใหม่ - SSi)
                มี 1-2 เม็ด (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ อังกาบ, สกุล)
                   มีถิ่นก�าเนิดในสาธารณรัฐมอริเชียส นอกชายฝั่งแอฟริกาในมหาสมุทรอินเดีย
                เป็นไม้ประดับและพืชสมุนไพร หรือขึ้นเป็นวัชพืชทั่วไปในเขตร้อน รากและใบมี
                สรรพคุณใช้ถอนพิษแมลงสัตว์กัดต่อย โรคงูสวัด

                  เอกสารอ้างอิง
                   Farnsworth, N.R. and N. Bunyapraphatsara. (1992). Thai Medicinal Plants,
                      Recommended for primary health care system. Medicinal Plant Information   เสลาด�า: ช่อดอกออกที่ปลายกิ่ง หลอดกลีบเลี้ยงมี 6 สัน ระหว่างกลีบมีติ่งยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง ติดทน เกสรเพศผู้
                      Center, Faculty of Pharmacy, Mahidol University.  จ�านวนมาก มี 6-7 อันด้านนอกยาวกว่าอันด้านใน (ภาพ: กาญจนบุรี - SSi)

                426






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   426                                                                 3/1/16   6:25 PM
   441   442   443   444   445   446   447   448   449   450   451