Page 445 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 445

สกุล Actephila Blume เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Euphorbiaceae มีประมาณ 20 ชนิด   สารานุกรมพืชในประเทศไทย  เสม็ด
                       พบในเอเชียเขตร้อนและออสเตรเลีย ในไทยมี 3 ชนิด อีก 2 ชนิด คือ พุทธมุลี
                       A. ovalis (Ridl.) Gage ที่กลีบเลี้ยงขยายในผลเช่นเดียวกัน แต่ใบไม่มีนวลด้านล่าง
                       ปลายใบแหลมยาว และอีโส A. excelsa (Dalzell) Müll. Arg. กลีบเลี้ยงไม่ขยาย
                       ในผล ซึ่งแยกเป็น var. javanica (Miq.) Pax & K. Hoffm. ก้านใบยาว ชื่อสกุลมา
                       จากภาษากรีก “akte” ชายฝั่งทะเล และ “philos” ชอบ ตามถิ่นที่อยู่ของบางชนิด

                      เอกสารอ้างอิง
                       Chayamarit, K. (2005). Euphorbiaceae (Actephila). In Flora of Thailand Vol.
                          8(1): 35-40.





                                                                          สีเสียดน�้า: ใบเรียงเวียน โคนมนหรือเว้าตื้น เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น ขอบจัก ผลมีปีกคล้ายรูปพีระมิดกลับด้าน
                                                                        (ภาพ: พระนครศรีอยุธยา - PT)
                                                                        สุวรรณหงส์
                                                                        Pommereschea lackneri Wittm.
                                                                        วงศ์ Zingiberaceae
                                                                           ไม้ล้มลุก สูง 50-70 ซม. ใบรูปขอบขนาน รูปใบหอก หรือแกมรูปไข่ ยาว
                                                                        8-25 ซม. ใบช่วงล่างขนาดเล็ก ปลายแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง โคนใบรูป
                                                                        หัวใจ พูแยกชัดเจน มักเบี้ยว แผ่นใบด้านล่างมีขนสั้นนุ่ม ก้านใบส่วนมากยาว
                                                                        4-8 ซม. ลิ้นใบแยก 2 แฉก ยาว 4-6 มม. ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกที่ปลายกิ่ง
                      สีสม: ปลายใบแหลมมน เกสรเพศผู้ติดบนจานฐานดอก กลีบเลี้ยงขยายในผล (ภาพ: เขานางพันธุรัต เพชรบุรี - SSi)
                                                                        ตั้งขึ้น ยาว 8-12 ซม. ใบประดับรูปใบหอก ยาว 1.5-2.5 ซม. ดอกสีเหลืองอมส้ม
                                                                        หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1.5 ซม. แยกจรดโคนด้านเดียว ปลายจักตื้น ๆ 2 แฉก
                                                                        หลอดกลีบดอกยาว 2-2.5 ซม. กลีบรูปใบหอก กลีบกลางมีขนาดใหญ่กว่ากลีบคู่ข้าง
                                                                        ยาว 1-1.3 ซม. กลีบปากหุ้มก้านชูอับเรณู เรียวแหลม ยาวประมาณ 1.5 ซม.
                                                                        ปลายเว้าลึก 2 พู ไม่มีแผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันด้านข้าง ก้านชูอับเรณูรูปแถบ โค้ง
                                                                        ยาว 3.5-4 ซม. อับเรณูยาว 7-8 มม. แกนอับเรณูไม่มีรยางค์ ก้านเกสรเพศเมีย
                                                                        รูปเส้นด้าย ยอดเกสรเพศเมียรูปถ้วย มีขนครุย รังไข่ 3 ช่อง ออวุลจ�านวนมาก เรียง
                                                                        2 แถว ผลแห้งแตก 3 ซีก กลม ๆ
                                                                           พบที่จีนตอนใต้ พม่า และภาคเหนือของไทยที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
                                                                        และแจ้ซ้อน จังหวัดล�าปาง ขึ้นบนหินปูน ความสูง 800-2200 เมตร
                                                                           สกุล Pommereschea Wittm. มี 2 ชนิด พบที่จีนตอนใต้ พม่า ในไทยมีชนิดเดียว
                                                                           อีกชนิดคือ P. spectabilis (King & Prain) K. Schum. แผ่นใบเกลี้ยง ก้านใบสั้น
                                                                           พูที่โคนเรียงชิดกัน ชื่อสกุลตั้งตาม Bishop of Pommer-Eschen ในเยอรมนี
                      พุทธมุลี: ปลายใบแหลมยาว แผ่นใบด้านล่างไม่มีนวล กลีบเลี้ยงขยายในผล (ภาพซ้ายบนและภาพขวา: ชุมพร - RP);   เอกสารอ้างอิง
                    อีโส: กลีบเลี้ยงไม่ขยายในผล ก้านใบยาว (ภาพซ้ายล่าง: เขาคิชฌกูฏ จันทบุรี - PK)  Larsen, K. and S.S. Larsen. (2006). Gingers of Thailand. Queen Sirikit Botanic
                                                                              Garden. Chiang Mai.
                    สีเสียดน้ำา                                            Wu, D. and K. Larsen. (2000). Zingiberaceae. In Flora of China Vol. 24: 346.
                    Mallotus plicatus (Müll. Arg.) Airy Shaw
                    วงศ์ Euphorbiaceae
                      ชื่อพ้อง Coccoceras plicatum Müll. Arg.
                       ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. มีขนหรือขนรูปดาว และเกล็ดต่อมสีเหลือง
                    หรือน�้าตาลแดงกระจาย ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 5.5-16 ซม.
                    ปลายมนหรือแหลมยาว โคนมนหรือเว้าตื้น ขอบจักมนมีต่อม เส้นโคนใบข้างละ
                    1 เส้น ก้านใบยาว 1.2-4 ซม. ช่อดอกคล้ายช่อกระจุกแยกแขนง มี 1-3 ช่อ ไม่มี
                    กลีบดอก ดอกเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 มม. ช่อดอกเพศผู้ยาวได้ถึง 20 ซม.
                    ดอกเพศผู้ออกเป็นกระจุก 3-7 ดอก ก้านดอกยาวประมาณ 2.5 มม. กลีบเลี้ยงสีเหลือง
                    หรือน�้าตาลอมแดง มี 3-4 กลีบ รูปไข่ เกสรเพศผู้ 20-25 อัน ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ   สุวรรณหงส์: โคนใบรูปหัวใจ พูแยกชัดเจน เบี้ยว ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกที่ปลายกิ่ง ตั้งขึ้น ใบประดับติดทน
                    กลีบเลี้ยง 5-6 กลีบ ผลแห้งไม่แตก มี 3 ปีก คล้ายรูปพีระมิดกลับด้าน ยาวประมาณ   ผลกลม ๆ (ภาพ: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่ - SSi)
                    3 ซม. กว้างประมาณ 2.8 ซม. เมล็ดกลม สีน�้าตาล เป็นมันวาว เส้นผ่านศูนย์กลาง   เสม็ด
                    4-5 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ตองเต้า, สกุล)
                       พบที่พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทางภาคกลางที่พระนครศรีอยุธยา   Melaleuca cajuputi Powell subsp. cumingiana (Turcz.) Barlow
                    สระบุรี ภาคเหนือตอนล่างที่นครสวรรค์ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่มหาสารคาม   วงศ์ Myrtaceae
                    ขึ้นตามริมน�้าหรือในป่าดิบแล้งระดับต�่า ๆ ความสูงไม่เกิน 150 เมตร  ชื่อพ้อง Melaleuca cumingiana Turcz.
                                                                           ไม้พุ่มหรือไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. เปลือกคล้ายฟองน�้าลอกเป็นชั้น ๆ มีขน
                      เอกสารอ้างอิง
                       van Welzen, P.C., S.E.C. Sierra, J.W.F. Silk and S. Bollendorff. (2007).   คล้ายไหมสีขาวตามกิ่งอ่อน ใบอ่อน ก้านใบ ใบประดับ ฐานดอก และกลีบเลี้ยง
                          Euphorbiaceae (Mallotus). In Flora of Thailand Vol. 8(2): 424-425.  ไม่มีหูใบ ใบเรียงเวียน รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 5.5-15 ซม. เบี้ยวเล็กน้อย

                                                                                                                    425






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   425                                                                 3/1/16   6:29 PM
   440   441   442   443   444   445   446   447   448   449   450