Page 440 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 440

สาละ
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                     สาละลังกา
                                                                     Couroupita guianensis Aubl.
                                                                     วงศ์ Lecythidaceae
                                                                       ไม้ต้น ผลัดใบ สูงได้ถึง 35 ม. ใบเรียงเวียนหนาแน่นที่ปลายกิ่ง รูปไข่กลับหรือ
                                                                     แกมรูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 30 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนรูปลิ่ม แผ่นใบ
                                                                     ด้านล่างมีขนตามเส้นแขนงใบ เส้นแขนงใบข้างละ 15-25 เส้น ก้านใบยาว 0.5-3 ซม.
                                                                     ช่อดอกแบบช่อกระจะ บางครั้งแยกแขนง ออกตามล�าต้น ยาวได้ถึง 3 ม. ดอกสมมาตร
                                                                     ด้านข้าง ขนาดใหญ่ เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-6 ซม. ก้านดอกยาว 1.5-6 ซม. กลีบเลี้ยง
                                                                     6 กลีบ เรียงซ้อนเหลื่อมที่โคน รูปไข่กลับ ยาว 4-5 ซม. ขอบมีขนครุย ดอกสีเหลือง
                                                                     ถึงสีชมพูอมแดงหรือน�้าตาล มี 6 กลีบ เกสรเพศผู้จ�านวนมาก เรียงเป็นวงรูปคุ่ม
                                                                     ด้านเดียว วงเกสรที่เป็นหมันติดที่โคน รังไข่ใต้วงกลีบ มี 6 ช่อง ผลแห้งไม่แตก
                                                                     เส้นผ่านศูนย์กลาง 12-25 ซม. เมล็ดจ�านวนมาก เรียงอัดแน่นในเนื้อที่นุ่ม
                  สารภีป่า: ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น กลีบเลี้ยงเรียงซ้อนเหลื่อม ติดทนในผล กลีบดอกสีครีม เชื่อมติดกันที่โคน    มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกากลางและอเมริกาใต้ นิยมปลูกตามวัดเนื่องจากเข้าใจว่า
                แกนอับเรณูปลายมีรยางค์ (ภาพดอก: ภูกระดึง เลย - PK; ภาพผล: ตาก - RP)  เป็นต้นสาละในพุทธประวัติ จึงมีชื่อไทยเป็นสาละลังกา เป็นพืชมีพิษ ท�าให้ขนร่วง
                สาละ                                                 ผลใช้เลี้ยงสัตว์โดยเฉพาะสัตว์ปีก
                Shorea robusta C. F. Gaertn.                           สกุล Couroupita Aubl. มี 3 ชนิด พบเฉพาะในอเมริกากลางและอเมริกาใต้ ชื่อ
                วงศ์ Dipterocarpaceae                                  สกุลมาจากภาษาพื้นเมือง “couroupito-utou-mou”
                   ไม้ต้น ผลัดใบ สูงได้ถึง 40 ม. เปลือกหนาแตกเป็นร่องตามยาว มีขนสั้นนุ่ม  เอกสารอ้างอิง
                ตามช่อดอก ก้านดอก และกลีบเลี้ยงด้านนอก หูใบรูปเคียวยาวประมาณ 8 มม.   Wee, C.Y. (2003). Tropical trees and shrubs: A selection for urban planting.
                ใบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 10-40 ซม. ปลายแหลม โคนเว้าตื้น แผ่นใบเกลี้ยง   Sun Tree Publishing Limited, USA.
                เส้นแขนงใบข้างละ 10-12 เส้น ก้านใบยาว 2-2.5 ซม. ใบแก่สีเหลือง ช่อดอกยาว
                ได้ถึง 25 ซม. ก้านดอกยาว 1-2 มม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาวประมาณ 2 มม. ดอกสีครีม
                มีปื้นชมพู กลีบรูปแถบ บิดเวียน ยาว 1-1.5 ซม. โคนกลีบซ้อนกันรูปถ้วย เกสรเพศผู้
                จ�านวนมากเรียง 3 วง อับเรณูรูปไวโอลินมีขนกระจาย แกนอับเรณูปลายมีติ่งสั้น ๆ
                รังไข่มีขนสั้นนุ่ม ก้านเกสรเพศเมียมีขนสั้นนุ่มที่โคน ยอดเกสรเพศเมียจัก 3 พู
                ผลรูปรีกว้าง ยาว 1-2 ซม. มีขนละเอียด ปีกยาว ยาว 5-8 ซม. มีเส้นปีก 7-9 เส้น เกลี้ยง
                ปีกสั้นยาวได้ถึง 3.5 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ พะยอม, สกุล)
                   มีถิ่นก�าเนิดในอินเดีย เนปาล ภูฏาน บังกลาเทศ และภาคตะวันตกเฉียงใต้ของจีน
                กระจายเป็นผืนกว้างคล้ายป่าเต็งรังของไทย เปลือกมีรสฝาด ใช้รักษาแผลและ
                อาการคันจากการแพ้ ชันและน�้ามันใช้ในอุตสาหกรรมน�้ามันชักเงา สาละเป็นไม้ใน
                พุทธประวัติเกี่ยวข้องกับการประสูติ ตรัสรู้ และปรินิพพาน ส�าหรับต้นไม้ที่
                พระพุทธเจ้าประสูติบางครั้งมีความสับสนระหว่างต้นสาละ และต้นโสก Saraca
                asoca (Roxb.) W. J. de Wilde หรือ Asoka tree ที่ชาวอินเดียนิยมใช้บูชาพระ
                และถือว่าเป็นสัญลักษณ์ของความรัก ชื่อสาละหรือ Sal เป็นภาษาฮินดูที่เรียกต้น  สาละลังกา: ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามล�าต้น กลีบดอกมี 6 กลีบ เกสรเพศผู้จ�านวนมาก เรียงเป็นวงรูปคุ่ม
                สาละ ลักษณะทั่วไปคล้ายกับต้นรัง Shorea siamensis Miq. แต่รังใบแก่สีแดง   ด้านเดียว วงเกสรที่เป็นหมันติดที่โคน ผลขนาดใหญ่ แห้งไม่แตก (ภาพ: cultivated - RP)
                เกสรเพศผู้มี 15 อัน เส้นแขนงใบมีมากกว่า และมีขนสั้นรูปดาวประปราย
                                                                     สาวน้ำาตก
                  เอกสารอ้างอิง
                   FAO. (1985). Dipterocarps of South Asia. RAPA Monograph 1985/4. FAO   Sonerila calophylla Ridl.
                      Regional Office for Asia and the Pacific: 198-216.  ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 30 ซม. ล�าต้นเกลี้ยง ข้อห่างกัน 2-6 ซม. ใบเรียงตรงข้าม
                   Hou, D. (1996). Caesalpiniaceae (Leguminosae-Caesalpinioideae) (Saraca). In
                      Flora Malesiana Vol. 12: 662-664.              ชิดกัน รูปไข่กลับกว้าง ยาว 1.2-5 ซม. ปลายแหลม โคนกลมหรือเรียวสอบ ขอบจัก
                   Li, X.W., J. Li and P.S. Ashton. (2007). Dipterocarpaceae. In Flora of China   ฟันเลื่อย มีขนครุย เส้นแขนงใบข้างละ 2-4 เส้น แผ่นใบด้านบนมีขนยาว มักมี
                      Vol. 13: 52.                                   ปื้นขาวตามเส้นกลางใบและเส้นแขนงใบ ด้านล่างสีแดงอมม่วง ก้านใบสั้นมาก
                                                                     หรือยาวได้ถึง 2 ซม. ก้านช่อดอกยาว 3-5.5 ซม. มี 3-9 ดอก ก้านดอกยาว 2-3 มม.
                                                                     ฐานดอกยาว 4-5 มม. กลีบดอกสีชมพูอมม่วง รูปรี ยาว 1-1.3 ซม. ปลายแหลมสั้น ๆ
                                                                     เกสรเพศผู้ 3 อัน อับเรณูยาว 4-5 มม. ผลรูปทรงกระบอก ยาว 5-6 มม. มี 6 ริ้ว
                                                                       พบที่คาบสมุทรมลายูตอนบน และภาคใต้ของไทยที่ระนอง ยะลา ขึ้นบนก้อนหิน
                                                                     ที่ชุ่มชื้นหรือพื้นดินที่ปกคลุมด้วยมอส ตามที่โล่งบนยอดเขาหรือริมล�าธาร ความสูง
                                                                     100-600 เมตร

                                                                     สาวสนม, สกุล
                                                                     Sonerila Roxb.
                                                                     วงศ์ Melastomataceae
                                                                       ไม้ล้มลุกหรือไม้พุ่มเตี้ย ล�าต้นส่วนมากเป็นสี่เหลี่ยม บางครั้งเป็นปีก ใบเรียง
                                                                     ตรงข้าม บางครั้งเรียงชิดกันดูคล้ายเรียงเป็นวงที่ปลายกิ่ง ใบตรงข้ามมีขนาด
                                                                     เท่า ๆ กัน หรือต่างกันอย่างชัดเจน เส้นโคนใบข้างละ 1-4 เส้น หรือเส้นแขนงใบ
                  สาละ: ป่าสาละบริเวณอุทยานแห่งชาติเชตุวันฯ คล้ายกับป่าเต็งรังของไทย แผ่นใบเกลี้ยง กลีบดอกบิดเวียน โคนกลีบ
                เรียงซ้อนกันเป็นรูปถ้วย ผลมีปีกยาว 3 ปีก ปีกสั้น 2 ปีก (ภาพป่าสาละ: เนปาล - RP; ภาพดอกและผล: cultivated - NN)  แบบขนนก ช่อดอกแบบวงแถวคู่ (scorpioid cyme) หรือคล้ายช่อซี่ร่ม ออกที่

                420






        59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd   420                                                                 3/1/16   6:28 PM
   435   436   437   438   439   440   441   442   443   444   445