Page 436 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 436
สาบแฮ้ง
สาบแฮ้ง สารานุกรมพืชในประเทศไทย
Dichrocephala integrifolia (L. f.) Kuntze
วงศ์ Asteraceae
ชื่อพ้อง Hippia integrifolia L. f.
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 50 ซม. มีขนสั้นนุ่มหรือขนสากตามล�าต้น กิ่ง และแผ่นใบ
ใบเรียงเป็นกระจุกที่โคน เรียงเวียนบนต้น รูปรี รูปไข่ รูปไข่กลับ หรือแกมรูปขอบขนาน
ใบช่วงโคนมักจักเป็นพูตื้น ๆ หรือลึก 1-2 คู่ ยาว 1-12 ซม. โคนเรียวสอบ ขอบจัก
ฟันเลื่อย ก้านใบยาว 1-3.5 ซม. เป็นปีกแคบ ๆ ใบช่วงปลายกิ่งขนาดเล็ก ก้านสั้น
ช่อดอกแบบช่อกระจุกแน่นแยกแขนง ช่อกระจุกเส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 มม.
ก้านช่อยาวได้ถึง 3 ซม. ใบประดับเรียง 2 วง รูปขอบขนาน ยาว 1-1.5 มม. ปลายแหลม
ขอบจักชายครุย ฐานช่อดอกรูปกลมแป้น ดอกวงนอกเพศเมีย สีขาวเรียงหลายชั้น
หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 0.5 มม. ปลายจัก 2 พู มีต่อมกระจาย ดอกวงใน
สมบูรณ์เพศ สีเขียวอมเหลือง หลอดกลีบสั้น ปลายแยกเป็น 4 แฉก เรียวแคบ
สามพันปี: ใบอ่อนขนาดเล็กคล้ายเข็ม ใบช่วงปลายลดรูปคล้ายเกล็ด โคนเพศผู้ออกเดี่ยว ๆ โคนเมล็ดมีกาบประดับ
มีต่อมกระจาย ผลแห้งเมล็ดล่อน รูปขอบขนาน โคนเรียวแคบ ขอบเป็นสัน ยาวประมาณ เจริญอวบน�้า หุ้มเมล็ดไม่เกินกึ่งหนึ่ง (ภาพใบและโคนเพศผู้: เขาใหญ่ ปราจีนบุรี - RP; ภาพโคนเมล็ด: ภูหลวง เลย - TP)
1 มม. มีต่อมกระจาย ไม่มีแพปพัสหรือมีขนแข็งสั้น ๆ 1-3 อัน
พบในแอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบกระจาย สามยอด, สกุล
แทบทุกภาค ยกเว้นภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบเขา ชายป่า Canscora Lam.
หรือทุ่งหญ้า ความสูง 500-2500 เมตร มีสรรพคุณแก้ไข้ แก้อักเสบ แก้อาเจียน วงศ์ Gentianaceae
สกุล Dichrocephala L’Hér. ex DC. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Asteroideae เผ่า Astereae ไม้ล้มลุก ล�าต้นมักเป็นเหลี่ยม ใบเรียงตรงข้าม ช่อดอกแบบช่อกระจุก ออกตาม
มีประมาณ 4 ชนิด พบในแอฟริกา มาดากัสการ์ เอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะ ซอกใบใกล้ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงเชื่อมติดกันเป็นหลอด มี 4 กลีบ ดอกรูปแตร มี 4 กลีบ
แปซิฟิก ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “dichroos” สองสี และ “kephale” ช่อกระจุกแน่น กลีบเล็ก 2 กลีบ กลีบใหญ่ 2 กลีบ เกสรเพศผู้ 4 อัน 2 อัน ติดบนหลอดกลีบ
ตามลักษณะของช่อกระจุกแน่นที่ดอกมีสองสี ด้านกลีบดอกขนาดเล็ก อีก 2 อัน ติดบนด้านกลีบดอกที่ใหญ่กว่า ต�่ากว่าเล็กน้อย
มี 2 คาร์เพล พลาเซนตาตามแนวตะเข็บ เกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย ยอดเกสรจัก
เอกสารอ้างอิง 2 พู ผลแห้งแตกตามแนวประสาน เมล็ดจ�านวนมาก
Chen, Y. and L. Brouillet. (2011). Asteraceae (Dichrocephala). In Flora of China
Vol. 20-21: 550-551. สกุล Canscora มี 9 ชนิด พบในแอฟริกา เอเชียเขตร้อน และออสเตรเลีย
ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ ผักปังแป C. diffusa (Vahl) R. Br. ex Roem. &
Schult. หลายชนิดถูกย้ายไปอยู่สกุล Phyllocyclus, Cracosna และ Schinziella
ชื่อสกุลมาจากภาษามาลายาลัม ในอินเดีย “Cansjan-cora” ที่ใช้เรียกชนิด C.
perfoliata Lam.
สามยอด
Canscora andrographioides Griff. ex C. B. Clarke
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 80 ซม. ใบรูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 2-6 ซม. ปลายแหลม
โคนรูปลิ่ม เส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น ก้านใบยาวได้ถึง 1 ซม. ช่อกระจุก มี 1-7 ดอก
สาบแฮ้ง: ใบช่วงปลายกิ่งขนาดเล็ก ช่อกระจุกแน่นแยกแขนง ดอกวงนอกสีขาว ดอกวงในสีเขียวอมเหลือง ใบประดับรูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาวได้ถึง 2 ซม. ดอกไร้ก้านหรือมีก้านยาวได้ถึง
(ภาพ: ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่ - RP)
2 ซม. หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1 ซม. มี 8 สัน กลีบเป็นติ่งแหลม ยาว 1-2 มม.
สามพันปี ดอกสีขาว หลอดกลีบดอกยาว 1-1.5 ซม. กลีบใหญ่ 2 กลีบ รูปรีกว้าง ยาว 4-7.5 มม.
Dacrydium elatum (Roxb.) Wall. ex Hook. กลีบเล็ก 2 กลีบ รูปรีแคบ ติดกัน ยาว 3-4.5 มม. ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 1 มม.
รังไข่รูปรี ยาว 0.5-1 ซม. ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 ซม. ผลรูปทรงกระบอก
วงศ์ Podocarpaceae มีริ้วเป็นสัน ยาวประมาณ 1 ซม.
ชื่อพ้อง Juniperus elata Roxb.
พบในเอเชียใต้ และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทุกภาค
ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. แยกเพศต่างต้น กิ่งมักลู่ลง เปลือกสีน�้าตาลลอกเป็นแผ่น ขึ้นตามป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 2300 เมตร
ใบอ่อนขนาดเล็กคล้ายเข็มเรียงขนานกับกิ่ง โค้งเล็กน้อย มีสัน ใบยาว 1-1.5 ซม.
ช่วงปลายสั้นและลดรูปคล้ายเกล็ดรูปสามเหลี่ยมเรียงซ้อนกัน ยาว 1-1.5 มม. เอกสารอ้างอิง
โคนเพศผู้ (pollen cone) ออกเดี่ยว ๆ รูปทรงกระบอก ยาว 4-8 มม. ไร้ก้าน Thiv, M. (2003). A taxonomic revison of Canscora, Cracosna, Duplipetala,
โคนเพศเมียหรือโคนเมล็ด (seed cone) ออกที่ปลายกิ่ง มีกาบประดับ (mega- Hoppea, Microrphium, Phyllocyclus and Schinziella (Gentianaceae-Canscorinae).
Blumea 48: 5-19.
sporophylls) จ�านวนมาก ยาวประมาณ 1 มม. มีอันเดียวหรือหลายอันที่เจริญ Ubolcholaket, A. (1987). Gentianaceae. In Flora of Thailand. Vol. 5(1): 72-92.
อวบน�้า สีน�้าตาลแดง รูปถ้วย หุ้มเมล็ดไม่เกินกึ่งหนึ่ง ยาว 1.5-2 มม. มีเมล็ดเดียว
ในแต่ละกาบ รูปไข่ ยาวประมาณ 5 มม. เมล็ดแก่สีน�้าตาลด�า
พบในภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู สุมาตรา บอร์เนียว ในไทยพบกระจาย
ห่าง ๆ ทุกภาค ขึ้นตามสันเขาในป่าดิบเขา ความสูง 1000-1500 เมตร
สกุล Dacrydium Lamb. มีประมาณ 25 ชนิด พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
หมู่เกาะแปซิฟิก นิวซีแลนด์ และทางใต้ของชิลี ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจาก
ภาษากรีก “dakra” น้ำาตา หมายถึงลักษณะชันหรือยางสนที่ไหลออกจากลำาต้น
เอกสารอ้างอิง
de Laubenfels, D.J. (1988). Coniferales. In Flora Malesiana Vol. 10: 374-384. สามยอด: ช่อดอกแบบช่อกระจุก ตามซอกใบใกล้ปลายกิ่ง ดอกรูปแตร กลีบใหญ่ 2 กลีบ กลีบเล็ก 2 กลีบ ติดกัน
Phengklai, C. (1975). Podocarpaceae. Flora of Thailand Vol. 2(3): 197-198. ผลรูปทรงกระบอก มีริ้วเป็นสัน (ภาพ: เขาใหญ่ ปราจีนบุรี - RP)
416
59-02-089_399-488_Ency_new5-3 i_Coated.indd 416 3/5/16 5:01 PM