Page 432 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 432
สัตฤๅษี
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
ช่อเชิงลด ออกที่ยอด ยาว 10-20 ซม. ใบประดับสีเขียวหรือมีสีแดงที่โคน สั้นกว่า
กลีบเลี้ยง ติดทน กลีบเลี้ยงเป็นหลอด แฉกลึกด้านเดียว สีแดงหรืออมม่วง ยาว
1.5-2 ซม. ปลายจักฟันเลื่อย ดอกสีเหลืองครีมหรือเหลืองสด หลอดกลีบดอก
ยาวกว่ากลีบเลี้ยง กลีบดอก 3 กลีบ รูปใบหอก ยาว 1.5-2 ซม. กลีบข้างเชื่อม
ติดก้านกลีบปากประมาณกึ่งหนึ่ง แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันด้านข้างคล้ายกลีบดอก
ตั้งตรง สั้นกว่ากลีบดอกเล็กน้อย กลีบปากรูปไข่กลับ ยาวเท่า ๆ กลีบดอก ปลายกลีบ
แฉกลึกประมาณกึ่งกลางกลีบ ก้านชูอับเรณูเรียวโค้ง ยาวประมาณ 2 ซม. อับเรณู
รูปแถบ แกนอับเรณูโคนมีรยางค์เป็นง่าม รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว
ยอดเกสรรูปลูกข่าง ขอบมีขน ผลกลม สีแดง เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.8-1.2.ซม.
สังหยูดอกแดง: กลีบดอก 6 กลีบ เรียง 2 วง กลีบนอก 3 กลีบสั้นกว่า 3 กลีบใน กลีบวงใน 3 กลีบ มีก้านกลีบ แตกออกเป็น 3 ซีก พับงอกลับ เมล็ดสีด�าเป็นมันวาว เป็นเหลี่ยม ไม่มีเยื่อหุ้ม
เรียงประกบกัน ผลมีขนสีน�้าตาลหนาแน่น (ภาพ: แว้ง นราธิวาส - MT)
พบที่อินเดีย ภูฏาน เนปาล พม่า จีนตอนใต้ และเวียดนาม ในไทยพบทาง
สัตฤาษี ภาคเหนือ และภาคตะวันตกที่กาญจนบุรี ขึ้นตามคบไม้หรือโขดหินในป่าดิบเขา
Iphigenia indica (L.) A. Gray ex Kunth ความสูง 1300-2500 เมตร เหง้ามีสรรพคุณขับลม แก้ปวดท้อง
วงศ์ Colchicaceae สกุล Cautleya (Royle ex Benth. & Hook. f.) Hook. f. เคยอยู่ภายใต้สกุล Roscoea
ชื่อพ้อง Melanthium indicum L. sect. Cautlea มี 4 ชนิด พบในประเทศแถบเทือกเขาหิมาลัยจนถึงเวียดนาม ในไทย
ไม้ล้มลุก มีหัวใต้ดิน เส้นผ่านศูนย์กลาง 0.5-1.5 ซม. ล�าต้นบางครั้งแตกกิ่ง มีชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งตามนักบรรพชีวินวิทยาชาวอังกฤษ Sir Proby Thomas
สูง 10-50 ซม. ใบรูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาว 5-25 ซม. เส้นใบ 3-10 เส้น ไร้ก้าน Cautley (1802-1871)
โคนเป็นกาบ ช่อดอกคล้ายช่อเชิงหลั่น ออกตามปลายกิ่งมี 1-10 ดอก ใบประดับ เอกสารอ้างอิง
รูปแถบ ยาว 1.5-2.5 ซม. ก้านดอกยาว 0.5-4 ซม. ส่วนต่าง ๆ ของดอกสีน�้าตาลแดง Cowley, E.J. (1982). A revision of Roscoea (Zingiberaceae). Kew Bulletin 36(4):
สีน�้าตาลอมม่วง หรือสีขาว กลีบรวม 6 กลีบ แยกจรดโคน รูปแถบ ยาว 0.5-1 ซม. 747-777.
เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดบนฐานรองดอก ก้านชูอับเรณูแบน ยาวประมาณกึ่งหนึ่งของ Larsen, K. and S.S. Larsen. (2006). Gingers of Thailand. Queen Sirikit Botanic
กลีบรวม อับเรณูติดด้านหลัง รังไข่มี 3 ช่อง จักเป็นพู ขนาดประมาณ 2 มม. ออวุล Garden. Chiang Mai.
จ�านวนมาก ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน โคนเชื่อมติดกัน โค้ง ยาวประมาณ 1 มม. Wu, D. and K. Larsen. (2000). Zingiberaceae. In Flora of China Vol. 24: 366.
ติดทน ผลแห้งแตก รูปรี ยาว 1-2 ซม.
พบที่ศรีลังกา อินเดีย จีนตอนใต้ ไห่หนาน ภูมิภาคมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ หมู่เกาะ
ซุนดาน้อย นิวกินี และออสเตรเลียตอนบน ในไทยพบทางภาคเหนือที่แม่ฮ่องสอน
เชียงใหม่ พิษณุโลก ตาก ภาคตะวันออกที่ชัยภูมิ และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่
กาญจนบุรี ขึ้นตามที่โล่งเขาหินปูนหรือทุ่งหญ้า ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร
สกุล Iphigenia Kunth เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Liliaceae มีประมาณ 13 ชนิด พบใน
แอฟริกา มาดากัสการ์ เอเชียใต้และเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ภูมิภาคมาเลเซีย
ออสเตรเลีย และนิวซีแลนด์ ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากชื่อ Iphigeneia
บุตรสาวกษัตริย์กรีกที่นำาทัพในสงคราม Trojan สางเขียว: ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกที่ยอด ผลแตกออกเป็น 3 ซีก พับงอกลับ เมล็ดสีด�าเป็นมันวาว เป็นเหลี่ยม
ไม่มีเยื่อหุ้ม (ภาพดอก: กาญจนบุรี - SSi; ภาพผล: ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่ - RP)
เอกสารอ้างอิง
Chen, X., and M.N. Tamura. (2000). Liliaceae (Iphigenia). In Flora of China Vol. ส้าน, สกุล
24: 158.
Jessop, J.P. (1983). Liliaceae (Iphigenia). In Flora Malesiana Vol. 9: 197-198. Dillenia L.
วงศ์ Dilleniaceae
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น ใบเรียงเวียน เส้นใบเรียงขนานกัน ก้านใบบางครั้งเป็นปีก
หุ้มแกนก้าน ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือแบบช่อกระจะสั้น ๆ ฐานดอกรูปกรวย กลีบเลี้ยง
และกลีบดอกส่วนมากมีจ�านวนอย่างละ 5 กลีบ กลีบเลี้ยงสด มักขยายในผล
เกสรเพศผู้จ�านวนมาก วงในอับเรณูยาวกว่าวงนอก อับเรณูมีรูเปิด 2 รูที่ปลาย
หรือแตกตามยาว แกนอับเรณูรูปแถบ คาร์เพลจ�านวนมากแนบติดฐานดอก ออวุลมี
หนึ่งถึงจ�านวนมาก ยอดเกสรเพศเมียเท่าจ�านวนคาร์เพล ผลมีกลีบเลี้ยงที่ขยายหุ้ม
แตกด้านบนตามรอยเชื่อมหรือไม่แตก เมล็ดมีเยื่อหุ้มหรือไม่มี
สกุล Dillenia มีประมาณ 65 ชนิด พบที่มาดากัสการ์ เอเชียเขตร้อน และฟิจิ ในไทย
มีประมาณ 10 ชนิด และพบเป็นไม้ประดับ 3 ชนิด คือ ส้านชวา D. suffruticosa
(Griff.) Martelli ส้านดอกขาว D. philippinensis Rolfe และอีกชนิดยังไม่ทราบ
ข้อมูลชื่อวิทยาศาสตร์ คือ ส้านยอดแดง Dillenia sp. ยอดอ่อนมีสีน้ำาตาลแดง
สัตฤๅษี: กลีบรวม 6 กลีบ รูปแถบ สีน�้าตาลแดงหรือม่วง ผลแห้งแตก รูปรี (ภาพ: ดอยหัวหมด ตาก - RP) มี 6-8 คาร์เพล พบปลูกเป็นไม้ประดับในไทย มาเลเซีย และสิงคโปร์ ชื่อสกุลตั้งตาม
นักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน Johann Jacob Dillen (1684-1747)
สางเขียว
Cautleya gracilis (Sm.) Dandy ส้าน
วงศ์ Zingiberaceae Dillenia aurea Sm.
ชื่อพ้อง Roscoea gracilis Sm., Cautleya lutea (Royle) Hook. f. ไม้ต้น ผลัดใบ สูงได้ถึง 15 ม. กิ่งและใบอ่อนมีขนสั้นนุ่ม ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน
ไม้ล้มลุกอิงอาศัย สูงได้ถึง 50 ซม. เหง้าสั้น ลิ้นใบบาง ยาวประมาณ 2 มม. ยาว 20-35 ซม. ปลายกลม โคนตัดหรือแหลม ขอบจักตามเส้นแขนงใบ เส้นแขนงใบ
ปลายกลม ใบเรียงสลับระนาบเดียว 4-6 ใบ รูปใบหอก ยาว 6-18 ซม. ปลายแหลมยาว ข้างละ 25-35 เส้น ก้านใบยาว 3-6 ซม. ดอกออกก่อนผลิใบหรือพร้อมใบ ดอกออก
โคนกลมหรือเรียวสอบ มักมีสีม่วงด้านล่าง ก้านใบสั้นหรือไร้ก้าน ช่อดอกแบบ เดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุก 2 ดอก ตามปลายกิ่งสั้น ๆ ด้านข้าง โคนมีใบประดับ
412
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 412 3/1/16 6:26 PM