Page 434 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 434
ส้านดิน
ส้านดิน สารานุกรมพืชในประเทศไทย ส้านเต่า
Dillenia hookeri Pierre Acrotrema costatum Jack
ไม้พุ่มหรือไม้ต้น บางครั้งสูงได้ถึง 15 ม. มีขนยาวหนาแน่นตามกิ่งอ่อน แผ่นใบ วงศ์ Dilleniaceae
ด้านล่าง ขอบใบ และก้านดอก ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอกกลับ ยาว 17-25 ซม. ไม้ล้มลุก มีเหง้า ล�าต้นสั้น มีขนยาวหนาแน่นตามกิ่งและใบอ่อน ช่อดอก
ปลายแหลมหรือกลม โคนแหลม ขอบจักซี่ฟัน เส้นแขนงใบข้างละ 30-40 เส้น ก้านดอก และกลีบเลี้ยงด้านนอก ใบเรียงเป็นกระจุก รูปไข่กลับ โคนเรียวแคบ ยาว
ก้านใบยาว 1.5-4 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ที่ปลายกิ่ง ก้านดอกยาว 7-25 ซม. โคนเว้าเป็นติ่ง ขอบจักซี่ฟัน แผ่นใบมักเป็นรอยด่างขาวช่วงเส้นกลางใบ
1.5-4 ซม. กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาวประมาณ 1.5 ซม. ดอกสีเหลือง กลีบบาง รูปขอบขนาน ก้านใบเป็นปีกโอบบาง ๆ ร่วงเร็ว ส่วนมากยาว 1-2 ซม. หรือยาวได้ถึง 6 ซม.
หรือแกมรูปไข่ ยาว 2.5-3 ซม. เกสรเพศผู้ยาว 0.8-1 ซม. มี 5-7 คาร์เพล ยาวประมาณ ช่อดอกแบบช่อกระจะออก ตามปลายกิ่ง ยาว 9-12 ซม. ดอกบานครั้งละหนึ่งดอก
5 มม. ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 ซม. ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-2.5 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3 ซม. ก้านดอกยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง กลีบเลี้ยง 5 กลีบ
ไม่แตกอ้าออก เมล็ดไม่มีเยื่อหุ้ม (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ส้าน, สกุล) รูปรี ยาวประมาณ 1 ซม. ดอกสีเหลือง มี 5 กลีบ รูปไข่แกมรูปขอบขนาน โคนเรียวแคบ
พบในภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่ง ชายป่า ความสูงถึง ยาว 1.5-2 ซม. ก้านดอกยาว 0.5-1.5 ซม. เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ก้านชูอับเรณูสั้น
ประมาณ 300 เมตร อับเรณูเรียวยาว ปลายมีรูเปิด มี 3 คาร์เพล ผลแตกแนวเดียว กลีบเลี้ยงหุ้มผล
มี 2-6 เมล็ด เยื่อหุ้มเมล็ดสีขาว
เอกสารอ้างอิง
Hoogland, R.D. (1951). Dilleniaceae. In Flora Malesiana Vol. 4: 101-103, 168. พบที่พม่าตอนล่าง คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และภาคใต้ของไทย ขึ้นใกล้ล�าธาร
________. (1972). Dilleniaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(2): 95-103. ตามป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร
สกุล Acrotrema Jack มีประมาณ 10 ชนิด พบที่อินเดียตอนใต้ 1 ชนิด ที่เหลือ
พบในศรีลังกา ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “akron” ยอด และ
“trema” รู ตามลักษณะรูเปิดที่ปลายอับเรณู
เอกสารอ้างอิง
Hoogland, R.D. (1951). Dilleniaceae. In Flora Malesiana Vol. 4: 151-152.
________. (1972). Dilleniaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(1): 104-105.
ส้านชวา: ก้านใบมีปีกกว้าง หุ้มใบอ่อน ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกที่ปลายกิ่ง (ภาพ: cultivated - RP)
ส้านดอกขาว: ก้านใบมีปีกกว้าง ช่อดอกแบบช่อกระจะ มี 1-2 ดอก ดอกสีขาว เกสรเพศผู้สีม่วงอมน�้าตาล มี 10-12
คาร์เพล ผลมีกลีบเลี้ยงสดหุ้ม (ภาพ: cultivated - RP) ส้านเต่า: ใบเรียงเป็นกระจุก มักเป็นรอยด่างขาวช่วงเส้นกลางใบ โคนเว้าเป็นติ่ง ขอบจักซี่ฟัน ช่อดอกแบบช่อกระจะ
มีขนหนาแน่น ดอกบานครั้งละหนึ่งดอก (ภาพ: น�้าตกโตนเพชร ระนอง - RP)
ส้านเต่า
Codonoboea platypus (C. B. Clarke) C. L. Lim
วงศ์ Gesneriaceae
ชื่อพ้อง Didymocarpus platypus C. B. Clarke, Henckelia platypus (C. B. Clarke)
A. Weber
ไม้ล้มลุกมีเนื้อไม้ สูงได้ถึง 60 ซม. มีขนยาวหนาแน่นตามกิ่งอ่อน เส้นแขนงใบ
ด้านล่าง ช่อดอก และกลีบเลี้ยง ใบเรียงเวียนรอบโคนต้น รูปใบหอกกลับ ยาว
8-13 ซม. ปลายแหลม โคนเรียวสอบจรดก้านใบ ขอบจักฟันเลื่อยถี่ แผ่นใบด้านบน
ส้านด�า: ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกที่ปลายกิ่ง มี 5-10 คาร์เพล ผลแตกอ้าออกสีขาว แต่ละคาร์เพลมี 1-3 เมล็ด
เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีแดงบาง ๆ (ภาพ: เขาช่อง ตรัง - RP) นูนเป็นตุ่ม มีขนสาก ด้านล่างมักมีสีม่วงอมแดง เส้นแขนงใบจ�านวนมาก ก้านใบสั้น
หรือเกือบไร้ก้าน ช่อดอกมี 1-5 ช่อ ออกตามซอกใบ ก้านช่อยาว 2.5-5 ซม. แต่ละช่อ
มีดอกเดียว ก้านดอกยาวประมาณ 1.2 ซม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาว 2-4 มม.
ดอกรูปแตร สีขาวหรืออมม่วง ยาว 3.5-4.5 ซม. มีขนประปราย กลีบบนขนาดเล็ก
กว่ากลีบล่าง ด้านล่างมีปื้นสีเหลือง 2 แนว รังไข่มีขน ผลรูปทรงกระบอก ยาว
4-10 ซม. โค้งเล็กน้อย มีขนสั้นนุ่ม (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ แก้วน�้าค้าง, สกุล)
พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และภาคใต้ของไทยที่นครศรีธรรมราช ยะลา
นราธิวาส ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูง 100-900 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Burtt, B.L. (2001). Flora of Thailand: annotated checklist of Gesneriaceae
ส้านดิน: ขึ้นเป็นกอหนาแน่น ตามที่โล่ง ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอกกลับ ดอกออกเดี่ยว ๆ ที่ปลายกิ่ง มี 5-7 (Henckelia platypus). Thai Forest Bulletin (Botany) 29: 98.
คาร์เพล (ภาพ: ภูวัว บึงกาฬ - RP)
414
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 414 3/1/16 6:26 PM