Page 430 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 430
สะโมง สะโมง สารานุกรมพืชในประเทศไทย
Pyrrosia longifolia (Burm. f.) C. V. Morton
วงศ์ Polypodiaceae
ชื่อพ้อง Acrostichum longifolium Burm. f.
เฟินเกาะอิงอาศัย เหง้าทอดนอนยาว เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.5 มม. มีเกล็ด
หนาแน่น รูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาวประมาณ 1.5 มม. ขอบเกล็ดสีน�้าตาล
กลางเกล็ดสีน�้าตาลด�า ใบเรียงห่าง ๆ รูปแถบ ยาวได้ถึง 1 ม. กว้าง 1-4.5 ซม.
ปลายเรียวแหลม โคนเรียวแคบเป็นปีก ขอบเรียบม้วนงอ แผ่นใบหนา มีขนกระจุก
เส้นแขนงใบย่อยแบบร่างแห เห็นไม่ชัดเจน ก้านใบยาว 5-20 ซม. มีช่วงต่อโคนก้านใบ
(phylopodia) ยาว 3-7 มม. กลุ่มอับสปอร์กลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 0.5 มม.
เรียงกระจายทั่วท้องใบส่วนครึ่งขอบบนและล่าง (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กีบม้าลม, สกุล)
พบที่อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ ลาว กัมพูชา ภูมิภาคมาเลเซีย และออสเตรเลีย
ในไทยพบแทบทุกภาค แต่ยังไม่มีรายงานทางภาคเหนือ พบมากทางภาคใต้ ขึ้น
บนต้นไม้ในป่าดิบแล้ง ป่าดิบชื้น และชายป่าพรุ ความสูงถึงประมาณ 700 เมตร
เอกสารอ้างอิง สะเลียมหอม: มีช่องอากาศหนาแน่น กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยม ปลายใบแหลมยาว โคนมน หรือเว้าตื้น ช่อดอกออกตาม
Lin, Y., Z. Xianchun and P.H. Hovenkamp. (2013). Polypodiaceae (Pyrrosia). In ล�าต้น ดอกหนาแน่น กลีบเลี้ยงสีแดงหรืออมเขียว แยกจรดโคน กลีบหนา ติดทน ผลกลม มีสันตามยาว ผิวขรุขระ
Flora of China Vol. 2-3: 788. (ภาพ: cultivated - RP)
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/ สักปีก
Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Polypodiaceae. In Flora of Thailand 3(4):
497-498. Vatica bella Slooten
วงศ์ Dipterocarpaceae
ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. มีขนสั้นสีเทาอมแดงตามกิ่งอ่อน ก้านใบ เส้นกลางใบ
ช่อดอก และกลีบเลี้ยง หูใบรูปขอบขนานยาว 4-5 มม. ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือ
รูปใบหอกกลับ ยาว 6-14 ซม. ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่ม เส้นแขนงใบย่อยแบบ
กึ่งขั้นบันได ก้านใบยาว 0.5-1.5 ซม. ช่อดอกยาวได้ถึง 4 ซม. ก้านดอกยาวประมาณ
3 มม. กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 3 มม. ดอกสีขาวนวล กลีบรูปขอบขนาน ยาว 1-1.2 ซม.
ปลายกลีบด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม เกสรเพศผู้ยาวประมาณ 1 มม. ปลายแกนอับเรณู
เป็นรยางค์ยาวประมาณ 1 มม. รังไข่รูปกรวยคว�่า มีขนสั้นนุ่ม ก้านเกสรเพศเมีย
ยาวประมาณ 2 มม. ผลเปลือกหนา กลม โคนตัด เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-4 ซม.
ปลายเป็นติ่งแหลมยาวได้ถึง 1 ซม. มีปุ่มหนาแน่น กลีบเลี้ยงที่ขยายในผลยาว
เท่า ๆ กัน รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 3 ซม. พับงอกลับ มีเส้นปีก 5-7 เส้น
ก้านผลยาว 3-5 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ พันจ�า, สกุล)
พบที่คาบสมุทรมลายู และภาคใต้ตอนล่างของไทยที่นราธิวาส ขึ้นตามที่ลาดชัน
สะโมง: เฟินเกาะอิงอาศัย แผ่นใบหนา โคนเรียวแคบเป็นปีก กลุ่มอับสปอร์กลม เรียงกระจายทั่วท้องใบส่วนครึ่ง ในป่าดิบชื้นใกล้ล�าธาร ความสูงถึงประมาณ 850 เมตร
ขอบบนและล่าง (ภาพ: พรุโต๊ะแดง นราธิวาส - PC)
สะเลียมหอม สักผา
Breynia thorelii (Beille) Welzen & Pruesapan Vatica mangachapoi Blanco subsp. obtusifolia (Elmer) P. S. Ashton
วงศ์ Phyllanthaceae ชื่อพ้อง Vatica obtusifolia Elmer
ชื่อพ้อง Sauropus thorelii Beille ไม้ต้น สูง 10-15 ม. ล�าต้นมักแคระแกร็นหรือแตกกอ มีขนกระจุกตามกิ่งอ่อน
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 2 ม. มีช่องอากาศหนาแน่น กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยม หูใบยาวประมาณ ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 3-6 ซม. ปลายมน โคนรูปลิ่ม แผ่นใบหนา เกลี้ยง
เส้นแขนงใบไม่ชัดเจน ก้านใบยาว 0.5-1 ซม. ช่อดอกยาวได้ถึง 10 ซม. ออกหนาแน่น
2 มม. ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอกแกมรูปไข่ ยาว 2.5-10 ซม. ปลายแหลมยาว ช่วงปลายกิ่ง ช่อแขนงยาว 2-3 ซม. กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1.5 มม. ดอกสีขาว
โคนมน หรือเว้าตื้น ๆ ก้านใบยาว 1-3 มม. ช่อดอกออกตามล�าต้นสั้น ๆ ดอกหนาแน่น
มีทั้งดอกเพศผู้และดอกเพศเมีย ไม่มีกลีบดอกและจานฐานดอก กลีบเลี้ยงสีแดง กลีบรูปไข่กลับแกมรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 7 มม. เกสรเพศผู้ยาวประมาณ 0.5 มม.
หรืออมเขียว มี 6 กลีบ แยกจรดโคน ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว 6-7 มม. กลีบเลี้ยง รังไข่มีขนสั้นนุ่ม ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1 มม. ผลรูปรีกว้างเกือบกลม เกลี้ยง
รูปรีแคบ ยาว 2-2.5 มม. ปลายเว้าตื้น ดอกเพศเมียก้านดอกยาว 2-2.5 มม. ยาว 8-9 มม. กลีบเลี้ยงที่ขยายเป็นปีกแยกจรดโคน ปีกยาว 2 ปีก โคนเรียวแคบ
ขยายในผลยาวได้ถึง 7 มม. กลีบหนา กลีบนอกรูปไข่กลับ ยาว 2-3.5 มม. กลีบในสั้น ปลายแผ่กว้าง รูปใบพาย ยาว 2-3 ซม. ปีกสั้น 3 ปีก รูปใบหอก ยาวประมาณ
และแคบกว่าเล็กน้อย ติดทน ยอดเกสรเพศเมียยาวประมาณ 1.2 มม. ปลายโค้งกลับ 1 ซม. ปลายแหลม ก้านผลยาว 1-2 มม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ พันจ�า, สกุล)
ผลกลม เส้นผ่านศูนย์กลาง 7-8 มม. มีสันตามยาว ผิวขรุขระ (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ พบที่ฟิลิปปินส์ (ปาลาวัน) บอร์เนียว (ซาบาร์) เวียดนาม และภาคใต้ของไทย
ครามน�้า, สกุล) ที่ถ�้าเสือ จังหวัดกระบี่ ขึ้นตามเขาหินปูนเตี้ย ๆ ความสูงไม่เกิน 100 เมตร ส่วน subsp.
พบเฉพาะที่ลาว แถบแขวงไชยบุรี ขึ้นตามริมล�าธารที่เป็นหินปูนในป่าดิบแล้ง mangachapoi ใบบางและขนาดใหญ่กว่า พบที่คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว และ
ใกล้แม่น�้าโขง ในไทยน�าเข้ามาปลูกเป็นผักใช้ใบกินกับลาบ ใบมีรสขม มีสรรพคุณ ฟิลิปปินส์ เคยมีรายงานว่าพบทางภาคใต้ตอนล่างของไทย แต่ยังไม่พบตัวอย่างอ้างอิง
ด้านสมุนไพรหลายอย่าง
เอกสารอ้างอิง
เอกสารอ้างอิง Ashton, P.S. (1978). Flora Malesiana Precursores. Gardens’ Bulletin Singapore
IUCN. (2013). Ecological survey of the Mekong river between Louangphabang 31(1): 23.
and Vientiane cities, Lao PDR, 2011-2012. IUCN. Vientiane, Lao PDR. ________. (1982). Dipterocarpaceae. In Flora Malesiana Vol. 9(2): 352-353, 365.
van Welzen, P.C. (2007). Euphorbiaceae (Sauropus). In Flora of Thailand Vol. Pooma, R. (2002). Further notes on Thai Dipterocarpaceae. Thai Forest Bulletin
8(2): 551-552. (Botany) 30: 13.
410
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 410 3/1/16 6:26 PM