Page 427 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 427
โคนแหลม มน หรือเว้าตื้น ขอบเว้าเป็นคลื่น แผ่นใบมีขนตามเส้นกลางใบและ สารานุกรมพืชในประเทศไทย สะค้านเชียงดาว
เส้นแขนงใบด้านล่าง เส้นแขนงใบข้างละ 3-6 เส้น มีเส้นโคนใบข้างละ 1-2 เส้น
ก้านใบยาว 2-5 มม. ช่อดอกยาว 1.5-5 ซม. กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน โคนแคบ
ยาวได้ถึง 8 มม. ด้านนอกมีขนละเอียด กลีบดอกขนาดเล็ก บาง รูปรี ยาวประมาณ
2 มม. เกสรเพศผู้สั้นกว่ากลีบเลี้ยงเล็กน้อย รังไข่เกลี้ยง ก้านเกสรเพศเมียยาวเท่า ๆ
เกสรเพศผู้หรือยาวกว่าเล็กน้อย ผลคล้ายลูกแพร์ เกลี้ยง ยาวได้ถึง 2 ซม. (ดูข้อมูล
เพิ่มเติมที่ พลับพลา, สกุล)
พบที่อินเดีย พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคตะวันตกเฉียงใต้ ขึ้นตามที่โล่ง หรือริมล�าธาร
สะแกนา: ล�าต้นมักมีกิ่งที่ลดรูปเป็นหนาม ช่อดอกแบบช่อเชิงลด จานฐานดอกเป็นวง มีขนหนาแน่น ผลมี 4 ปีก
ในป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง ความสูง 100-500 เมตร (ภาพ: อุบลราชธานี - PK)
เอกสารอ้างอิง
Phengklai, C. (1993). Tiliaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(1): 34.
พู่อมร: ดอกสีแดง (ภาพซ้าย: cultivated - RP); พู่อมรช่อส้ม: ดอกสีแดงอมส้ม (ภาพขวา: cultivated - SSi)
สะค้านเชียงดาว
Piper chiangdaoense Suwanph. & Chantar.
วงศ์ Piperaceae
สลอดเล็ก: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ กลีบเลี้ยงแยกจรดโคน รูปขอบขนาน ขอบใบเว้าเป็นคลื่น ผลคล้าย
ลูกแพร์ เกลี้ยง (ภาพ: บึงกาฬ - RP) ไม้เถา แยกเพศต่างต้น รากออกตามข้อ มีขนก�ามะหยี่ตามยอดอ่อน แผ่นใบ
สะแกนา, สกุล ด้านล่าง ก้านใบ และก้านช่อดอก หูใบรูปใบหอก ร่วงง่าย ใบเรียงเวียน รูปไข่กว้าง
เบี้ยวเล็กน้อย ยาว 3.5-4.5 ซม. ปลายแหลม โคนแหลม กลม หรือเว้าตื้น ก้านใบยาว
Combretum Loefl. 1-1.5 ซม. เส้นใบข้างละ 3 เส้น ออกใกล้โคนใบ ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกเดี่ยว ๆ
วงศ์ Combretaceae ที่ปลายกิ่งหรือซอกใบ ห้อยลง แกนกลางมีขน ดอกจ�านวนมาก ใบประดับรูปโล่
ไม้เถาเนื้อแข็ง ไม้พุ่ม หรือไม้ต้น ส่วนมากมีขนสั้นนุ่ม ขนต่อม หรือเกล็ด ขนาดประมาณ 0.1 มม. มีก้านสั้น ๆ ติดทน ช่อดอกเพศผู้ยาว 3-5 ซม. ก้านช่อยาว
ตามกิ่งอ่อน แผ่นใบ ดอก และผล ใบเรียงตรงข้าม ก้านใบบางครั้งติดทนดูคล้ายหนาม 1-1.5 ซม. ดอกเพศผู้ขนาดเล็ก เกสรเพศผู้ 4-6 อัน ก้านชูอับเรณูสั้น อับเรณูมี
ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ช่อกระจะ หรือช่อแยกแขนง ดอกจ�านวนมาก ใบประดับ 2 ช่อง ช่อดอกเพศเมียสั้นกว่าช่อดอกเพศผู้เล็กน้อย ก้านช่อยาว 1-2 ซม. รังไข่รูปรี
ขนาดเล็ก กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 4-5 กลีบ กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ยอดเกสรเพศเมียแยก 3-5 แฉก คล้ายรูปดาว ติดทน มีขน ผลผนังชั้นในแข็ง
แนบติดรังไข่ ไม่ติดทน กลีบดอกส่วนมากขนาดเล็ก เกสรเพศผู้มีจ�านวน 2 เท่า รูปรี แยกกัน ยาว 2-3 มม. มีเมล็ดเดียว
ของกลีบเลี้ยง ยื่นพ้นปากหลอดกลีบเลี้ยง รังไข่ใต้วงกลีบ มีช่องเดียว ออวุล 2-4 เม็ด พืชถิ่นเดียวของไทย พบที่ดอยเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่ เกาะเลื้อยตามหินปูน
ก้านเกสรเพศเมียแยกกัน ผลคล้ายเป็นผลเทียม (pseudocarp) ผนังชั้นในแข็ง ความสูง 1500-2200 เมตร
มี 4-5 เหลี่ยม หรือ 4-5 ปีก
สกุล Piper L. มีประมาณ 2000 ชนิด ส่วนใหญ่พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน
สกุล Combretum มีประมาณ 250 ชนิด พบในอเมริกาเขตร้อน แอฟริกา มาดากัสการ์ ในไทยมีประมาณ 50 ชนิด รวมพืชต่างถิ่น มีหลายชนิดที่เป็นพืชเศรษฐกิจที่สำาคัญ
และเอเชียเขตร้อน ในไทยมีประมาณ 20 ชนิด และเป็นไม้ประดับ 2-3 ชนิด เช่น
พู่อมร C. constrictum (Benth.) M. A. Lawson มีถิ่นกำาเนิดในแอฟริกา และ เช่น พริกไทย P. nigrum L. พลู P. betle L. และ ช้าพลู P. sarmentosum Roxb.
พู่อมรช่อส้ม C. fruticosum (Loefl.) Stuntz มีถิ่นกำาเนิดในอเมริกาใต้ ชื่อสกุล ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “peperi” หมายถึงพริกไทย
เป็นภาษาละตินที่ใช้เรียกพืชที่เป็นสมุนไพรหลายชนิด เอกสารอ้างอิง
Suwanphakdee, C. and P. Chantaranothai. (2011). A new species and three
สะแกนา taxonomic changes in Piper (Piperaceae) from Thailand. Blumea 56(3): 235.
Combretum quadrangulare Kurz Tseng, Y.C., N. Xia and M.G. Gilbert. (1999). Piperaceae. In Flora of China
Vol. 4: 110.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. ล�าต้นมักมีกิ่งที่ลดรูปเป็นหนาม เปลือกเรียบ กิ่งอ่อน
เป็นเหลี่ยม 4 เหลี่ยม ส่วนต่าง ๆ มีเกล็ดปกคลุมหนาแน่น ใบรูปไข่กลับหรือ
แกมรูปขอบขนาน ยาว 8-18 ซม. ปลายแหลมยาว โคนเรียวสอบ ก้านใบยาว 4-6 มม.
ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ออกตามซอกใบ ยาว 3-6 ซม. มักแยกแขนง ใบประดับ
รูปเส้นด้าย ยาวประมาณ 1 มม. ก้านดอกยาวประมาณ 1 มม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วยกว้าง
กว้าง 2-2.5 มม. ยาวประมาณ 1.2 มม. เป็นเหลี่ยม มี 4 กลีบ รูปสามเหลี่ยม
ขนาดเล็ก กลีบดอกสีครีม รูปไข่กลับ ยาว 0.8-1.2 มม. ปลายแหลม เกสรเพศผู้ 4 อัน
ยาว 3-4 มม. จานฐานดอกเป็นวง มีขนหนาแน่น ผลมี 4 ปีก รูปรีกว้าง ยาวประมาณ
2 ซม. ปีกกว้าง 3-4 มม.
พบที่พม่าและภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่ง ข้างถนน หรือ
เขาหินปูนเตี้ย ๆ ความสูงถึงประมาณ 250 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Nanakorn, W. (1986). The genus Combretum (Combretaceae) in Thailand. Thai สะค้านเชียงดาว: มีขนก�ามะหยี่ตามยอดอ่อน ก้านใบ และก้านช่อดอก ใบรูปไข่กว้าง เส้นใบข้างละ 3 เส้น ออกใกล้
Forest Bulletin (Botany) 16: 154-204. โคนใบ ช่อดอกแบบช่อเชิงลด (ภาพ: ดอยเชียงดาว เชียงใหม่ - RP)
407
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 407 3/1/16 6:25 PM