Page 423 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 423
สมอทะเล สมอพิเภก สารานุกรมพืชในประเทศไทย สมอร่อง
Shirakiopsis indica (Willd.) Esser Terminalia bellirica (Gaertn.) Roxb.
วงศ์ Euphorbiaceae ชื่อพ้อง Myrobalanus bellirica Gaertn.
ชื่อพ้อง Sapium indicum Willd. ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. โคนต้นมีพูพอน เปลือกเรียบหรือแตกเป็นสะเก็ด เปลือกใน
ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. แยกเพศร่วมต้น โคนต้นมีหนาม น�้ายางขาวหรือใส สีเหลือง ใบรูปไข่กลับ ยาว 4-16 ซม. ปลายเป็นติ่งแหลมหรือมน โคนรูปลิ่ม แผ่นใบ
ใบเรียงเวียน รูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 7-14 ซม. ปลายแหลมยาว โคนมน ขอบจักฟันเลื่อย เหนียว ด้านล่างสีเขียวเทา ใบอ่อนสีม่วงอมแดง ก้านใบยาว 3-9 ซม. มีต่อมหนึ่งคู่
ขอบใบด้านล่างมีต่อม 4-10 ต่อม ต่อมที่โคนใบติดบนเส้นกลางใบ ก้านใบยาว ด้านข้างประมาณกึ่งกลางก้านใบหรือใกล้โคนก้าน ช่อดอกแบบช่อเชิงลด ยาวได้ถึง
1-1.5 ซม. มักมีสีแดง ช่อดอกแบบช่อกระจุกคล้ายช่อเชิงลด ยาว 3-8 ซม. ใบประดับ 15 ซม. แกนช่อดอกมีขนสั้นนุ่ม หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 2 มม. ปลายแยกเป็น
5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 1.5 มม. ด้านนอกมีขนประปราย ด้านในมี
ขนาดเล็ก โคนมีต่อม 1 คู่ กลีบเลี้ยง 3 กลีบ ไม่มีกลีบดอกและจานฐานดอก ขนยาวสีน�้าตาลหนาแน่น เกสรเพศผู้ยาว 3-5 มม. ยื่นพ้นหลอดกลีบ ผลผนังชั้นในแข็ง
ดอกเพศผู้ออกเป็นกระจุก 3-7 ดอก ก้านดอกยาว 1-2 มม. กลีบเลี้ยงยาว 0.6-0.8 มม. แก่ไม่แตก รูปรี ยาว 2-3 ซม. เรียบหรือมีสันนูน 5 สัน มีขนสั้นนุ่มสีน�้าตาลหนาแน่น
ขอบมีขนครุย เกสรเพศผู้ 3 อัน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 0.5 มม. ไม่มีเกสรเพศเมีย เมล็ดรูปรี ยาว 2-2.5 ซม. ผิวย่น (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ สมอ, สกุล)
ที่เป็นหมัน ดอกเพศเมียส่วนมากมีดอกเดียวที่โคนช่อ ก้านดอกยาวประมาณ
5 มม. กลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1.5 มม. รังไข่มี 3 ช่อง แต่ละช่องมีออวุลเม็ดเดียว พบที่อินเดีย ศรีลังกา พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ออสเตรเลีย
ก้านเกสรเพศเมียแยก 3 แฉก ยาวประมาณ 1.5 มม. ยอดเกสรยาว 4-6 มม. ติดทน ตอนบน ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบชื้น และป่าดิบแล้ง
ผลแห้งแข็ง แตกยาก เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3.2 ซม. สุกสีด�า เมล็ดรูปรี ยาว 1-1.3 ซม. ความสูงถึงประมาณ 500 เมตร น�้าคั้นจากเปลือกแก้ไข้ แก้หวัด ผลแห้งใช้ฟอกหนัง
แก้ท้องร่วง แก้ไอ เจ็บคอ และเบาหวาน
พบที่ศรีลังกา อินเดีย พม่า เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย และหมู่เกาะแปซิฟิก
ในไทยพบทางภาคใต้ ตามชายฝั่งทะเล หรือป่าโกงกาง ผลและใบให้สีย้อมสีด�า ผลสด เอกสารอ้างอิง
มีพิษใช้เบื่อปลา น�้ายางมีพิษอาจท�าให้ตาบอดได้ Nanakorn, W. (1985). The genus Terminalia (Combretaceae) in Thailand. Thai
Forest Bulletin (Botany) 15: 63-65, 71-74.
Sosef, M.S.M., E. Boer, W.G. Keating, S. Sudo and L. Phuphathanaphong.
สกุล Shirakiopsis Esser อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Euphorbioideae มี 6 ชนิด พบใน (1995). Timber trees: Minor commercial timbers. In Plant Resources of
แอฟริกา เอเชีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลหมายถึงสกุล South-East Asia, 5(2). PROSEA, Bogor, Indonesia.
ที่คล้ายกับสกุล Shirakia ซึ่งเป็นชื่อสถานที่ในญี่ปุ่น
เอกสารอ้างอิง
Esser, H.-J. and P.C. van Welzen. (2007). Euphorbiaceae (Shirakiopsis). In
Flora of Thailand Vol. 8(2): 554-556.
Li, B. and H.-J. Esser. (2001). Euphorbiaceae (Shirakiopsis). In Flora of China
Vol. 11: 385-286.
สมอไทย: ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ช่อดอกย่อยแบบช่อเชิงลด ผลเรียบหรือมีสันตื้น ๆ (ภาพดอก: แม่สะนาม
เชียงใหม่ - RP; ภาพช่อผล: ห้วยขาแข้ง อุทัยธานี- PK); สมอนั่ง: var. nana (ภาพขวา: หนองคาย - RP)
สมอทะเล: ขอบใบจักฟันเลื่อย ก้านใบสีแดง ช่อดอกแบบช่อกระจุกคล้ายช่อเชิงลด ผลแห้งแข็ง แตกยาก
(ภาพ: สงขลา; ภาพดอก - MP, ภาพผล - RP)
สมอไทย
Terminalia chebula Retz.
วงศ์ Combretaceae
ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. เปลือกแตกเป็นร่องลึก เปลือกในสีน�้าตาลแดง ใบเรียง
เกือบตรงข้าม รูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ยาว 8-30 ซม. ปลายแหลมหรือ
เรียวแหลมสั้น ๆ โคนรูปลิ่ม มน หรือเว้าตื้น แผ่นใบมีขนตามเส้นแขนงใบด้านล่าง
ใบอ่อนสีน�้าตาลแดง ก้านใบยาว 1-4 ซม. มีต่อมหนึ่งคู่ใกล้โคนใบ ช่อดอกแบบ
ช่อแยกแขนง ช่อดอกย่อยแบบช่อเชิงลด ยาว 4-10 ซม. แกนช่อมีขนสั้นนุ่ม
ดอกเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-4 มม. หลอดกลีบเลี้ยงยาวประมาณ 1 มม. ปลายแยก
5 แฉก รูปสามเหลี่ยม ด้านในมีขนหนาแน่น รังไข่เกลี้ยง ก้านยอดเกสรเพศเมีย ยาว
1.5-2 มม. ผลผนังชั้นในแข็ง รูปไข่กว้าง ยาว 2.5-4.5 ซม. เรียบหรือมี 5 สันตื้น ๆ สมอพิเภก: ใบเรียงเวียนเป็นกระจุกที่ปลายกิ่ง ช่อดอกแบบช่อเชิงลด มีขนสั้นนุ่ม กลีบเลี้ยงด้านในมีขนยาวหนาแน่น
เกลี้ยง ผลแก่สีด�า เมล็ดรูปรี ยาว 1.5-2 ซม. ผิวย่น (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ สมอ, สกุล) ผลมีขนสั้นนุ่มสีน�้าตาลหนาแน่น (ภาพดอก: พิจิตร - MP; ภาพผล: จันทบุรี - SR)
พบที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาค สมอร่อง
ยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ
1500 เมตร แก่นใช้ย้อมผ้าให้สีเหลือง ผลมีรสฝาด ช่วยให้เจริญอาหาร แก้เจ็บคอ Lagerstroemia subangulata (Craib) Furtado & Montien
เป็นยาระบายอ่อนๆ แก้พิษร้อนภายใน เป็นหนึ่งในต�ารับยาตรีผลา ร่วมกับสมอพิเภก วงศ์ Lythraceae
และมะขามป้อม แยกเป็น var. nana Gagnep. หรือสมอนั่ง เป็นไม้พุ่มเตี้ย พบทาง ชื่อพ้อง Lagerstroemia undulata Koehne var. subangulata Craib
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ var. tomentella (Kurz) C. B. Clarke พบที่พม่า ไม้ต้น สูง 10-15 ม. เปลือกบาง ใบรูปรี รูปไข่ หรือรูปขอบขนาน ยาว 4-12 ซม.
และจีนตอนใต้ แผ่นใบด้านล่างมีขนสีน�้าตาลหนาแน่น ปลายแหลมยาว แผ่นใบด้านล่างมีขนตามเส้นแขนงใบ ก้านใบยาว 1-3 มม.
403
59-02-089_399-488_Ency_new1-3_J-Coated.indd 403 3/1/16 6:24 PM