Page 418 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 418

ว่านสีลากลีบผอม
                                                                                     สารานุกรมพืชในประเทศไทย
                        มีถิ่นก�าเนิดในอเมริกาใต้ ขึ้นเป็นวัชพืชและเป็นไม้ประดับ ดอกบานในช่วงเวลา  ยาวได้ถึง 2 ซม. ปลายจัก 2 พู ผลแห้งแตก รูปไข่ ยาว 1.5-2.5 ซม. ปลายมีจะงอย
                     กลางวันสั้น ๆ ในช่วงที่อากาศเย็นจะบานได้นานมากขึ้น   สั้น ๆ เมล็ดจ�านวนมาก สีด�าน�้าตาล มีเยื่อหุ้ม
                       เอกสารอ้างอิง                                        พบที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ เวียดนาม และภาคเหนือของไทยที่แม่ฮ่องสอน
                        Fang, R. and G. Staples. (1995). Convolvulaceae. In Flora of China. Vol. 16: 305.  เชียงใหม่ เชียงราย ขึ้นตามป่าสนเขา ความสูง 500-1800 เมตร แยกเป็น var. acaulis
                        Staples, G. (2010). Convolvulaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 418-419.  Noltie ช่อดอกออกจากโคน ไม่มีล�าต้น พบเฉพาะที่จีนตอนใต้

                                                                            สกุล Iris L. มีประมาณ 280 ชนิด ส่วนมากพบในเขตอบอุ่น ในไทยมีชนิดเดียว
                                                                            ส่วนว่านหางช้าง I. domestica (L.) Goldblatt & Mabb. หรือชื่อเดิมคือ Belamcanda
                                                                            chinensis (L.) DC. เป็นไม้ประดับ และยังมีไอริส สกุล Trimezia ดอกสีเหลือง และ
                                                                            สกุล Neomarica ดอกสีม่วง 2-3 ชนิด ชื่อสกุลเป็นภาษากรีกที่ใช้เรียกพืชในสกุลนี้
                                                                           เอกสารอ้างอิง
                                                                            Larsen, K. (2008). Iridaceae. In Flora of Thailand Vol. 9(2): 117-119.
                                                                            Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum
                                                                               Press, Honolulu, Hawai`i.
                                                                            Zhao, Y.T., H.J. Noltie and B.F. Mathew. (2000). Iridaceae. In Flora of China
                       ว่านผักบุ้ง: กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ปลายเรียวแหลม ติดทน ด้านนอกมีขนยาว ดอกรูปแตร ผลเกลี้ยง (ภาพ: แม่สอด   Vol. 24: 297, 306.
                     ตาก - RP)
                     ว่านพังพอน
                     Tacca integrifolia Ker Gawl.
                     วงศ์ Dioscoreaceae
                        ไม้ล้มลุก เหง้ารูปทรงกระบอก ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 20-60 ซม.
                     ปลายแหลมหรือเป็นติ่งแหลม โคนแหลมหรือเว้าตื้น เบี้ยวเล็กน้อย ก้านใบยาว
                     20-50 ซม. รวมกาบใบ ช่อดอกมี 1-4 ช่อ ยาวได้ถึง 60 ซม. แต่ละช่อมี 6-30 ดอก
                     ใบประดับมี 2 คู่ สีเขียวอ่อนหรืออมม่วง คู่นอกไร้ก้าน รูปรีถึงรูปใบหอก ยาวได้ถึง
                     14 ซม. คู่ในโคนเรียวแคบยาวเป็นก้านกลีบ รูปใบหอกกลับหรือรูปใบพาย ยาวได้ถึง   ว่านแม่ยับ: ช่อดอกออกจากต้นที่มีล�าต้น ดอกสีม่วง แผ่นกลีบโคนมีสันเป็นคลื่นสีส้ม ก้านเกสรเพศเมียที่แยกแขนง
                     22 ซม. กลีบประดับรูปเส้นด้าย 5-25 อัน สีอ่อนกว่าใบประดับ ยาว 10-20 ซม.   คล้ายแผ่นกลีบ ปลายผลมีจะงอยสั้น ๆ (ภาพ: ดอยอินทนนท์ เชียงใหม่; ภาพดอก - RP, ภาพผล - NP)
                     ดอกสีเขียวอมม่วงน�้าตาล ก้านดอกยาว 2-4 ซม. กลีบรวม 6 กลีบ เรียง 2 วง รูปรี
                     หรือรูปไข่ ยาว 0.5-1.5 ซม. ผลรูปขอบขนาน มี 6 เหลี่ยม ยาว 4-5 ซม. (ดูข้อมูล
                     เพิ่มเติมที่ ว่านค้างคาว, สกุล)
                        พบที่ปากีสถาน อินเดีย ศรีลังกา บังกลาเทศ จีน พม่า ภูมิภาคอินโดจีน และ
                     ภูมิภาคมาเลเซีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึง
                     ประมาณ 500 เมตร หรือพบเป็นไม้ประดับ
                       เอกสารอ้างอิง
                        Phengklai, C. (1993). Taccaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(1): 1-9.
                        Ting, C.C. and K. Larsen. (2000). Taccaceae. In Flora of China Vol. 24: 274-275.
                                                                           ว่านหางช้าง: ดอกสีส้ม มีจุดสีเข้มกระจาย กลีบรวม 6 กลีบ เรียง 2 วง คล้ายกัน ปลายผลไม่มีจะงอย (ภาพซ้าย:
                                                                          cultivated - RP); ไอริส: Trimezia sp. ดอกสีเหลือง มีจุดสีน�้าตาลกระจาย (ภาพขวา: cultivated - RP)
                                                                          ว่านสีลากลีบผอม
                                                                          Tainia speciosa Blume
                                                                          วงศ์ Orchidaceae
                                                                            กล้วยไม้ดิน ล�าลูกกล้วยรูปกระสวย ยาว 2.5-5 ซม. ใบรูปใบหอก ยาว 6-20 ซม.
                                                                          ก้านใบยาว 7-21 ซม. ใบพับจีบ ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกจากเหง้า ตั้งตรง
                                                                          ยาว 16-50 ซม. แกนช่อยาวได้ถึง 27 ซม. มี 1-11 ดอก ใบประดับรูปใบหอก ยาว
                                                                          2-3 ซม. ดอกสีขาวอมเขียวอ่อน มักมีเส้นกลีบสีม่วงแดง กลีบเลี้ยงและกลีบดอก
                       ว่านพังพอน: ใบประดับคู่ในโคนเรียวแคบยาวเป็นก้านกลีบ รูปใบหอกกลับหรือรูปใบพาย กลีบประดับรูปเส้นด้าย
                     ผลรูปขอบขนาน มี 6 เหลี่ยม (ภาพดอก: ศรีพังงา พังงา, ภาพผล: รักษะวาริน ระนอง; - RP)  รูปแถบ ปลายเรียวแหลมคล้ายหาง กลีบเลี้ยงบนยาว 4-5 ซม. กลีบข้างยาวกว่า
                                                                          เล็กน้อย กลีบดอกยาว 3-3.7 ซม. กลีบปากรูปใบหอก ยาวประมาณ 1.5 ซม.
                     ว่านแม่ยับ                                           กลางแผ่นกลีบมีสันนูน 1-3 สัน โคนมีเดือยสั้น ๆ ยาวประมาณ 2 มม. เส้าเกสรยาว
                     Iris collettii Hook. f.                              ประมาณ 5.5 มม. ก้านดอกรวมรังไข่ ยาว 1-1.8 ซม.
                     วงศ์ Iridaceae                                         พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา บอร์เนียว และภาคใต้ของไทยที่นครศรีธรรมราช
                        ไม้ล้มลุก มีหัวใต้ดิน โคนต้นมีเส้นใยใบเก่า ใบเรียง 2 แถว ในระนาบเดียว   ปัตตานี ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูง 250-1300 เมตร
                     รูปดาบ ช่วงออกดอกยาว 10-25 ซม. ขยายได้กว่า 35 ซม. ในช่วงติดผล แผ่นใบมีนวล
                     เส้นแขนงใบหลักมี 2-3 เส้น โคนขยายเป็นกาบ ล�าต้นที่มีช่อดอกยาว 2-8 ซม.   สกุล Tainia Blume มีประมาณ 32 ชนิด พบในอินเดีย ศรีลังกา จีน ญี่ปุ่น
                     ดอกออกเป็นช่อคล้ายพัด แยกแขนง หรือออกเดี่ยว ๆ มีกาบหุ้ม 3 กาบ รูปใบหอก   เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ นิวกินี ทางตอนบนของออสเตรเลีย และหมู่เกาะ
                     ยาว 2-5 ซม. มี 2-4 ดอกในแต่ละช่อ ดอกสีม่วง ดอกบานเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-5 ซม.   แปซิฟิก ในไทยมี 10 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “tainia” สายรัดผมหรือ
                     หลอดกลีบดอกเรียวยาว ยาว 3-5 ซม. มี 6 กลีบ เรียง 2 วง วงกลีบนอกบานออก   ริบบิ้น ตามลักษณะของใบและกลีบดอก
                     รูปไข่กลับ ยาว 2.5-3 ซม. โคนมีสันเป็นคลื่นสีส้ม วงกลีบในตรง รูปใบหอกกลับ ยาว   เอกสารอ้างอิง
                     2-3 ซม. เกสรเพศผู้มี 3 อัน ยาว 1.3-1.5 ซม. อับเรณูสีเหลืองหันออก รังไข่ใต้วงกลีบ   Pedersen, H.Æ. (2014). Orchidaceae (Tainia). In Flora of Thailand Vol. 12(2):
                     มี 3 ช่อง พลาเซนตารอบแกนร่วม ก้านเกสรเพศเมียที่แยกแขนงคล้ายแผ่นกลีบ   633-647.

                                                                                                                     393






         59-02-089_293-398_Ency new5-3 i_Coated.indd   393                                                                 3/5/16   4:57 PM
   413   414   415   416   417   418   419   420   421   422   423