Page 413 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 413

ว่านหยกอีสาน
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                       พบที่อินเดีย ภูฏาน เนปาล จีนตอนใต้ พม่า และเวียดนาม ในไทยพบทาง
                                                                     ภาคเหนือ และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบเขา ความสูง
                                                                     ถึงประมาณ 1500 เมตร หัวใช้กินแก้กามโรคและโรคทางเดินปัสสาวะ

                                                                       สกุล Disporum Salisb. เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Liliaceae, Colchicaceae หรือ
                                                                       Convallariaceae มีประมาณ 20 ชนิด พบเฉพาะในเอเชีย รวมถึงรัสเซีย ญี่ปุ่น
                                                                       และเกาหลี ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “dis” 2 เท่า และ “spor” เมล็ด ตาม
                                                                       ลักษณะผลที่ส่วนมากมี 2 เมล็ด

                                                                      เอกสารอ้างอิง
                  ว่านสีลากลีบผอม: ดอกสีขาวอมเขียวอ่อน กลีบเลี้ยงและกลีบดอกรูปแถบ ปลายเรียวแหลมคล้ายหาง กลีบปาก  Liang, S.Y. and M.N. Tamura. (2000). Liliaceae (Disporum). In Flora of China
                รูปใบหอก กลางแผ่นกลีบมีสันนูน (ภาพ: เขาหลวง นครศรีธรรมราช - NT)  Vol. 24: 157.
                ว่านหยกอีสาน
                Zingiber junceum Gagnep.
                วงศ์ Zingiberaceae
                   ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 50 ซม. ส่วนต่าง ๆ เกลี้ยง ลิ้นกาบยาว 2-4 มม. ปลายจัก 2 พู
                ใบรูปแถบ ยาว 12-18 ซม. ปลายแหลมยาว โคนกลมจรดกาบใบ แผ่นใบด้านล่าง
                มีนวล ไร้ก้าน ช่อดอกออกด้านข้างของต้นที่มีใบ ก้านช่อยาว 10-15 ซม. ช่อดอก
                รูปกระสวย ยาว 10-20 ซม. ใบประดับรูปรีหรือรูปไข่กลับ ยาว 2-2.5 ซม. สีเขียว
                เปลี่ยนเป็นสีแดง ขอบบาง ใบประดับย่อยรูปรี ยาวประมาณ 2.5 ซม. กลีบเลี้ยง
                สั้นกว่าใบประดับย่อย ดอกสีเหลือง ยาวประมาณ 3.5 ซม. กลีบดอกรูปขอบขนาน   ว่านหัวสืบ: ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม ออกตามกิ่งด้านข้างตรงข้ามใบ โคนกลีบดอกมีเดือยตรง ยอดเกสรเพศเมียแยก 3 แฉก
                กลีบหลังยาวประมาณ 1.5 ซม. กลีบข้างสั้นกว่าเล็กน้อย กลีบปากสีเหลือง รูปรีกว้าง   (ภาพ: ทุ่งใหญ่นเรศวร ตาก - PK)
                กว้างประมาณ 1.2 ซม. ยาวประมาณ 1.5 ซม. ปลายแฉกตื้น ๆ แผ่นเกสรเพศผู้  ว่านหาวนอน
                ที่เป็นหมันรูปกลม ๆ สั้น (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ขิง, สกุล)
                                                                     Kaempferia rotunda L.
                   พบที่ลาว กัมพูชา และภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยที่บึงกาฬ สกลนคร  วงศ์ Zingiberaceae
                มุกดาหาร ขึ้นตามป่าเต็งรังที่เป็นดินทราย ความสูง 100-200 เมตร
                                                                       ไม้ล้มลุก สูง 10-30 ซม. เหง้ายาว 2.5-3.5 ซม. กลิ่นหอมแรง มีขนตามแผ่นใบ
                  เอกสารอ้างอิง                                      ด้านล่าง ใบประดับ และกลีบเลี้ยง ใบมี 2-4 ใบ รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก
                   Theilade, I. (1999). A synopsis of the genus Zingiber (Zingiberaceae) in Thailand.   ยาว 7-35 ซม. ก้านใบยาว 1-2 ซม. กาบใบยาว 6-10 ซม. ช่อดอกออกจากเหง้า
                      Nordic Journal of Botany 9(4): 393.            ก่อนผลิใบหรือพร้อมใบอ่อน ก้านช่อสั้น กาบประดับยาวได้ถึง 5 ซม. มี 4-12 ดอก
                                                                     บานครั้งละ 1-2 ดอก ใบประดับรูปขอบขนาน ยาว 2-4 ซม. ใบประดับย่อยสั้นและ
                                                                     เรียวแคบกว่า กลีบเลี้ยงยาว 3-6 ซม. ดอกสีขาว หลอดกลีบดอกยาว 5-5.5 ซม.
                                                                     กลีบดอกรูปแถบ ปลายมีรยางค์ กลีบหลังยาว 4-5 ซม. กลีบข้างสั้นกว่าเล็กน้อย
                                                                     แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันรูปขอบขนาน ยาว 2-4 ซม. กลีบปากสีม่วง มีปื้นสีเหลือง
                                                                     ที่โคน ยาวประมาณ 4 ซม. ปลายแฉกลึก อับเรณูยาว 5-8 มม. สันอับเรณูจัก 2 พู
                                                                     มีต่อม 2 ต่อม ยอดเกสรรูปถ้วย ขอบมีขน (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ เปราะหอม, สกุล)
                                                                       พบที่อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ ไต้หวัน พม่า ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู
                                                                     และชวา ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่โล่งในป่าเบญจพรรณ ป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง
                                                                     และเขาหินปูน ความสูง 50-1300 เมตร ใบอ่อนและรากกินเป็นผักสด เหง้าและ
                                                                     รากท�าเป็นครีมใช้ทาแผลสดและใช้ร่วมเป็นยาสมุนไพรหลายขนาน
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                                                                       Sabu, M. (2006). Zingiberaceae and Costaceae of south India. Indian Association for
                                                                          Angiosperm Taxonomy, Department of Botany, Calicut University, Kerala, India.
                                                                       Sirirugsa, P. (1991). The genus Kaempferia in Thailand. Thai Forest Bulletin
                  ว่านหยกอีสาน: ส่วนต่าง ๆ เกลี้ยง ใบรูปแถบ ช่อดอกออกด้านข้างของต้นที่มีใบ รูปกระสวย กลีบดอกและกลีบปาก
                สีเหลือง แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันด้านข้างรูปกลม สั้น (ภาพซ้าย: บึงกาฬ - RP; ภาพขวา: มุกดาหาร - PK)  (Botany) 19: 7-8.
                ว่านหัวสืบ
                Disporum calcaratum D. Don
                วงศ์ Asparagaceae
                   ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 1 ม. เหง้าสั้น ล�าต้นแตกกิ่ง ใบเรียงเวียน รูปรี รูปขอบขนาน
                หรือแกมรูปไข่ ยาว 5-8 ซม. ปลายแหลมยาว โคนมนหรือกลม เส้นใบเรียงขนานกัน
                3-7 เส้น ก้านใบยาว 3-5 มม. ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม ออกตามกิ่งด้านข้างตรงข้ามใบ
                มี 3-10 ดอก ก้านช่อสั้น ก้านดอกยาว 1-2 ซม. มีริ้วและปุ่มกระจาย ดอกรูปคล้าย
                ระฆัง สีชมพูอมแดงหรือม่วง กลีบรวม 6 กลีบ แยกกัน รูปใบหอกกลับ ยาว
                1.2-2 ซม. โคนมีเดือยรูปทรงกระบอก ตรงหรือโค้งเล็กน้อย ยาว 4-8 มม. เกสรเพศผู้
                6 อัน ติดที่โคนกลีบรวม ยาว 1-1.8 ซม. ก้านชูอับเรณูแบน ๆ ยาว 0.7-1.3 ซม.
                อับเรณูยาว 4-5 มม. รังไข่มี 3 ช่อง ยาวประมาณ 3 มม. ก้านเกสรเพศเมียรูปเส้นด้าย
                ยาว 5-9 มม. ปลายแยก 3 แฉก บานออก ผลสด เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1 ซม.
                สุกสีด�า ส่วนมากมี 2 เมล็ด                            ว่านหาวนอน: ช่อดอกออกจากเหง้าก่อนผลิใบหรือพร้อมใบอ่อน บานครั้งละ 1-2 ดอก กลีบดอกรูปแถบ กลีบปาก
                                                                     ปลายแฉกลึก รากอวบหนาเป็นหัวขนาดเล็ก (ภาพดอก: พบพระ ตาก - PK; ภาพราก: เชียงใหม่ - SSi)

                394






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   394                                                                 3/1/16   6:18 PM
   408   409   410   411   412   413   414   415   416   417   418