Page 411 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 411

ว่านน�้าทอง
                                                                                   สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                    ว่านนางแลว                                             Streptolirion ที่เป็นไม้เถา และวงใบประดับมีกระจายตามข้อทุกข้อที่มีช่อดอก
                    Polygonatum kingianum Collett & Hemsl.                 ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “spathe” กาบ และ “leirion” ดอกลิลลี่ หมายถึงพืช
                                                                           คล้ายพวกลิลลี่ มีใบประดับเป็นกาบ
                    วงศ์ Asparagaceae
                       ไม้ล้มลุก ทอดเลื้อย ยาวได้ถึง 3 ม. มีเหง้า ล�าต้นมีนวล ใบเรียงรอบข้อ 3-10 ใบ   เอกสารอ้างอิง
                                                                           Hong, D. and R.A. DeFilipps. (2000). Commelinaceae. In Flora of China Vol. 24: 20.
                    รูปใบหอกหรือรูปแถบ ยาว 6-25 ซม. ปลายมีมือพัน ไร้ก้าน ช่อดอกคล้ายช่อซี่ร่ม   Larsen, K. and S.S. Larsen. (2003). A new species of Spatholirion (Commelinaceae)
                    ออกสั้น ๆ ตามซอกใบ มี 1-6 ดอก ห้อยลง ใบประดับขนาดเล็ก ดอกสีขาวหรือชมพู  from Thailand and further notes on S. ornatum. Thai Forest Bulletin (Botany)
                    อมแดง กลีบรวมรูปทรงกระบอก ยาว 1.5-2.5 ซม. ปลายแยกเป็น 6 แฉก รูปสามเหลี่ยม   31: 39-43.
                    ยาว 3-5 มม. เกสรเพศผู้ 6 อัน ติดด้านในวงกลีบเหนือจุดกึ่งกลาง ก้านชูอับเรณู
                    ยาว 2-5 มม. อับเรณูยาว 4-6 มม. โคนจัก 2 พู รังไข่มี 3 ช่อง ยาวเท่า ๆ อับเรณู
                    ก้านเกสรเพศเมียยาว 0.8-1.5 ซม. ยอดเกสรแยก 3 แฉก ผลสด จักเป็นพูตื้น ๆ
                    เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม. มี 7-12 เมล็ด
                       พบที่จีนตอนใต้ พม่า เวียดนาม และภาคเหนือของไทยที่แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่
                    เชียงราย ขึ้นตามเขาหินปูน ความสูง 700-2000 เมตร บางครั้งดอกมีสีเหลือง สารสกัด
                    จากรากมีสรรพคุณลดไขมันในตับ แก้ไอ

                       สกุล Polygonatum Mill. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Liliaceae, Ruscaceae หรือ
                       Convallariaceae ปัจจุบันอยู่วงศ์ย่อย Nolinoideae มีประมาณ 60 ชนิด ส่วนใหญ่  ว่านน�้าค้างดอย: ช่อแยกแขนงแบบช่อวงแถวเดี่ยวสั้น ๆ ช่อที่โคนมีใบประดับเป็นดอกสมบูรณ์เพศ ปลายช่อเป็น
                       พบบริเวณเขตอบอุ่นทางซีกโลกเหนือแถบเอเชียตะวันออก โดยเฉพาะจีนมีกว่า   ดอกเพศผู้ ก้านชูอับเรณูมีขนแบบขนแกะหนาแน่น (ภาพ: ชัยภูมิ - PK)
                       40 ชนิด ในไทยมี 3 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “polys” มาก และ “gony”   ว่านน้ำาทอง
                       ข้อต่อ ตามลักษณะของเหง้า
                                                                        Anoectochilus geniculatus Ridl.
                      เอกสารอ้างอิง                                     วงศ์ Orchidaceae
                       Jeffrey, C. (1980). The genus Polygonatum (Liliaceae) in eastern Asia. Kew
                          Bulletin 34(3): 463.                             กล้วยไม้ดิน เหง้าเจริญด้านข้าง ล�าต้นทอดเลื้อย มีรากตามข้อ ใบเรียงเวียน
                       Maxwell, J.F. (1998). Botanical notes on the flora of northern Thailand: 6.   สีน�้าตาลแกมเขียว เส้นใบสีน�้าตาลแดง ใบรูปรีหรือรูปไข่ ยาว 1.8-7 ซม. แผ่นใบหนา
                          Natural History Bulletin of the Siam Society 46(2): 149-154.  ปลายแหลม มน หรือเป็นติ่ง โคนเบี้ยว ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกที่ยอด ตั้งตรง
                       Xinqi, C. and M.N. Tamura. (2000). Liliaceae (Polygonatum). In Flora of China   สูงได้ถึง 17 ซม. มีขนสั้นนุ่มหรือขนต่อมกระจาย แกนช่อยาวประมาณ 1.8 ซม.
                          Vol. 24: 223, 228.
                                                                        มี 1-5 ดอก ใบประดับรูปไข่ ยาว 1-1.5 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ดอกสีขาว ก้านดอกสั้น
                                                                        กลีบเลี้ยงมีขนสั้นนุ่ม กลีบบนรูปใบหอกแกมรูปไข่ ยาว 1-1.2 ซม. กลีบข้างรูปใบหอก
                                                                        เบี้ยว ยาวประมาณ 1.1 ซม. กลีบดอกรูปใบหอก เบี้ยว ยาวประมาณ 1.2 ซม.
                                                                        กลีบปาก ยาว 7-9 มม. มีจุดสีชมพู 2 จุด กลางกลีบจักซี่หวี ปลายกลีบปากจัก
                                                                        2 พู ยาว 5-7 มม. เดือยชี้ไปด้านหลัง ยาวได้ถึง 1.4 ซม. เส้าเกสรตรง ยาว 6-8 มม.
                                                                        มีปีกจรดโคนเดือย ก้านดอกรวมรังไข่ ยาวประมาณ 1.5 ซม.
                                                                           พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และบอร์เนียว ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทาง
                                                                        ภาคตะวันออกเฉียงใต้ที่ปราจีนบุรี และภาคใต้ที่ตรัง นครศรีธรรมราช ขึ้นตาม
                                                                        ป่าดิบชื้น ความสูง 600-900 เมตร
                      ว่านนางแลว: ใบเรียงรอบข้อ ปลายใบมีมือพัน ช่อดอกออกสั้น ๆ ตามซอกใบ กลีบรวมรูปทรงกระบอก ปลายแยก
                    เป็นแฉกเล็ก ๆ ผลจักเป็นพูตื้น ๆ (ภาพ: ดอยตุง เชียงราย - RP)  สกุล Anoectochilus Blume อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Orchidoideae เผ่า Cranichideae
                                                                           พบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสเตรเลียตอนบน และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทย
                    ว่านน้ำาค้างดอย                                        มี 6 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “anoiktos” เปิด และ “cheilos” กลีบปาก
                    Spatholirion calcicola K. Larsen & S. S. Larsen        ตามลักษณะกลีบปาก
                    วงศ์ Commelinaceae                                    เอกสารอ้างอิง
                       ไม้ล้มลุก ไม่มีล�าต้น รากรูปกระสวย ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว   Pedersen, H.Æ. (2011). Orchidaceae (Anoectochilus). In Flora of Thailand Vol.
                    9-20 ซม. โคนแหลม ตัด หรือเว้าตื้น ก้านใบยาวได้ถึง 25 ซม. โคนเป็นร่องลึก   12(1): 10-20.
                    ช่อแยกแขนงแบบช่อวงแถวเดี่ยวสั้น ๆ ออกตามซอกกาบ ก้านช่อยาว 5-6 ซม.
                    มีขนคล้ายขนแกะหนาแน่น ช่อที่โคนมีใบประดับ ดอกสมบูรณ์เพศ ปลายช่อเป็น
                    ดอกเพศผู้ ใบประดับรูปรีกว้าง ยาว 1.5-2 ซม. ปลายเป็นติ่งแหลม ด้านบนมีขน
                    สั้นนุ่มหนาแน่น ด้านล่างมีขนประปราย แกนช่อดอกมีขนสั้นนุ่ม ดอกสีขาวหรืออมม่วง
                    ดอกสมบูรณ์เพศมี 1-2 ดอก กลีบรวม 6 กลีบ เรียง 2 วง รูปขอบขนาน ยาว 0.7-1 ซม.
                    วงในแคบกว่าเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 6 อัน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 5 มม. มีขนแบบ
                    ขนแกะหนาแน่น เกสรเพศเมียรวมรังไข่ยาวประมาณ 1 ซม. รังไข่มี 3 ช่อง ดอกเพศผู้
                    ขนาดเล็กกว่า กลีบรวมยาว 3-4 มม. รังไข่เป็นหมัน ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 4 มม.
                    ผลแห้งแตกเป็น 3 ซีก เป็นเหลี่ยม รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 2 ซม. มี 4-8 เมล็ด
                    มีเยื่อหุ้มสีส้ม
                       พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือที่เชียงใหม่ น่าน ล�าปาง และภาคตะวันออก
                    ที่ชัยภูมิ ขึ้นบนเขาหินปูน ความสูง 350-500 เมตร
                       สกุล Spatholirion Ridl. มี 6 ชนิด พบที่จีน เวียดนาม และคาบสมุทรมลายู ในไทย  ว่านน�้าทอง: ใบสีน�้าตาลแกมเขียว เส้นใบสีน�้าตาลแดง ช่อดอกแบบช่อกระจะ กลีบเลี้ยงมีขนสั้นนุ่ม กลีบปากจักซี่หวี
                       มี 2 ชนิด อีกชนิด S. ornatum Ridl. พบที่นราธิวาส คล้ายกับสกุลผักปลาบเครือ   ปลายจัก 2 พู (ภาพซ้ายและภาพขวาบน: เขาหลวง นครศรีธรรมราช - NT; ภาพขวาล่าง เขาพนมเบญจา กระบี่ - RP)

                                                                                                                    391






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   391                                                                 3/1/16   6:17 PM
   406   407   408   409   410   411   412   413   414   415   416