Page 410 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 410
ว่านตรุ
ว่านตรุ สารานุกรมพืชในประเทศไทย พบที่ ลาว และกัมพูชา ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
Epigynum cochinchinensis (Pierre) D. J. Middleton และภาคตะวันออก ขึ้นตามป่าเต็งรัง และป่าเบญจพรรณ ความสูง 100-600 เมตร
วงศ์ Apocynaceae เอกสารอ้างอิง
ชื่อพ้อง Nouettea cochinchinensis Pierre Larsen K. (1972). Studies in the genus Globba in Thailand. Notes from the
Royal Botanic Garden, Edinburgh 31: 229-241.
ไม้เถา มีขนสั้นหนานุ่มตามกิ่ง ช่อดอก และผล น�้ายางขาว ใบเรียงตรงข้าม Wu, D. and K. Larsen. (2000). Zingiberaceae. In Flora of China Vol. 24: 358.
รูปรี รูปขอบขนาน หรือรูปไข่กลับ ยาว 7-23 ซม. ปลายแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง
โคนกลมหรือเว้าตื้น แผ่นใบมีขนประปราย ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ
คล้ายช่อซี่ร่ม ยาวได้ถึง 13 ซม. ตาดอกเรียวแคบ กลีบเลี้ยงยาว 2-4 มม. ดอกรูป
ดอกเข็ม สีขาวหรืออมชมพู กลีบเรียงซ้อนทับด้านขวาในตาดอก หลอดกลีบดอก
ยาว 3-5 ซม. กลีบรูปไข่กลับ ยาว 1.5-2 ซม. ด้านนอกมีขนละเอียด ด้านในมีขน
สั้นนุ่ม เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดใกล้โคนหลอดกลีบดอก อับเรณูยาว 0.7-1 ซม. โคน
เป็นเงี่ยง ช่วงที่เป็นหมันแนบติดยอดเกสรเพศเมีย จานฐานดอกมี 5 พู แยกกัน
มี 2 คาร์เพล เกลี้ยง ปลายติดกันเรียวยาวเป็นก้านเกสรเพศเมีย ยาวได้ถึง 2 ซม.
รวมยอดเกสร ผลติดเป็นฝักคู่ ยาว 30-35 ซม. เมล็ดแบน กระจุกขนยาวประมาณ 3 ซม.
พบที่พม่าและเวียดนาม ในไทยพบแทบทุกภาค ขึ้นตามป่าเต็งรัง ป่าดิบแล้ง ว่านทับทิมสยาม: ใบไร้ก้าน ใบประดับสีชมพูอมม่วง พับขึ้นและบิดเล็กน้อย (ภาพ: ภูวัว บึงกาฬ - NT)
และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร ชื่อ ว่านตรุ มาจากภาษาเขมร ‘วันตรือ’
ที่ใช้เรียกในจันทบุรี ว่านนางตัด
Labisia pumila (Blume) Fern.-Vill.
สกุล Epigynum Wight มี 6 ชนิด ในไทยพบ 3 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน
“epi” ด้านนอก และภาษากรีก “gynon” เพศเมีย ตามลักษณะช่วงอับเรณูที่เป็นหมัน วงศ์ Myrsinaceae
แนบติดยอดเกสรเพศเมีย ชื่อพ้อง Ardisia pumila Blume, Marantodes pumilum (Blume) Kuntze
ไม้ล้มลุก มีเหง้า ล�าต้นสั้น มีเกล็ดสีน�้าตาลแดงหนาแน่นตามต้น แผ่นใบด้านล่าง
เอกสารอ้างอิง
Middleton, D.J. (1999). Apocynaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(1): 119. ก้านใบ และช่อดอก ใบเรียงเวียนหนาแน่นที่ยอด รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว
10-20 ซม. โคนเรียวสอบจรดก้านใบเป็นครีบ เส้นแขนงใบจ�านวนมาก ปลายเรียง
จรดกัน ก้านใบยาว 2.5-8 ซม. ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงสั้น ๆ คล้ายช่อเชิงลด
ออกตามซอกใบ ยาว 2-8 ซม. ช่อย่อยมี 1-7 ดอก ใบประดับรูปลิ่มแคบ ยาวได้ถึง
3 มม. ก้านดอกยาว 1-2.5 มม. กลีบเลี้ยงส่วนมากมี 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก
ติดทน มีจุดโปร่งใส ดอกสีขาวหรืออมชมพู ส่วนมากมี 5 กลีบ เรียงจรดกันในตาดอก
โคนเชื่อมติดกัน กลีบรูปสามเหลี่ยม ยาว 2.5-3 มม. ด้านนอกมีต่อมกระจาย
เกสรเพศผู้เท่าจ�านวนกลีบดอก ติดที่โคนและพับอยู่ภายในกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสั้น
อับเรณูหันเข้า ปลายมีต่อม รังไข่มีเกล็ดประปราย ก้านเกสรเพศเมียยาวประมาณ
ว่านตรุ: ใบเรียงตรงข้าม ช่อดอกออกเป็นช่อกระจุกแยกแขนงสั้น ๆ คล้ายช่อซี่ร่ม ดอกสีชมพูหรือขาว กลีบดอก 1.5 มม. ยอดเกสรเป็นตุ่ม ผลสด ผนังชั้นในแข็ง เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 มม.
เรียงซ้อนทับด้านขวาในตาดอก ดอกบานรูปดอกเข็ม (ภาพซ้าย: เขาใหญ่ ปราจีนบุรี - SSi; ภาพขวา: น่าน - PK)
สุกสีแดง มีต่อมกระจาย มีเมล็ดเดียว
ว่านทับทิมสยาม, สกุล พบที่กัมพูชา คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว ชวา และสุมาตรา ในไทยส่วนมากพบ
Globba L. ทางภาคใต้ ขึ้นตามริมล�าธารในป่าดิบชื้น ความสูง 100-800 เมตร ส่วนต่าง ๆ มีสรรพคุณ
วงศ์ Zingiberaceae บ�ารุงครรภ์ ลดภาวะตกเลือด ช่วยให้ร่างกายฟื้นหลังการคลอด และบ�ารุงก�าลัง
ไม้ล้มลุก เหง้าทอดเลื้อย ลิ้นกาบเรียบ ใบเรียงเวียน ก้านใบสั้นมากหรือไร้ก้าน สกุล Labisia Lindl. มีประมาณ 6 ชนิด พบในภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย
ช่อดอกแบบช่อกระจะหรือช่อกระจุกแยกแขนง ออกที่ยอด ช่อดอกย่อยแบบ ฟิลิปปินส์ และนิวกินี ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “labis” หุ้ม
ช่อวงแถวเดี่ยว บางครั้งมีหัวย่อย ใบประดับย่อยแยกจรดโคน กลีบเลี้ยงรูประฆัง ตามลักษณะกลีบดอกที่หุ้มเกสรเพศผู้
หรือรูปลูกข่าง ปลายจักมน 3 แฉก หลอดดอกเรียวแคบ กลีบดอก 3 กลีบ ยาว
เท่า ๆ กัน แผ่นเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันคล้ายกลีบดอก กลีบปากเชื่อมติดก้านชูอับเรณู เอกสารอ้างอิง
Larsen, K. and C.M. Hu. (1996). Myrsinaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(2):
เป็นหลอด ก้านชูอับเรณูโค้ง โคนอับเรณูส่วนมากมีรยางค์ รังไข่มีช่องเดียว 151-152.
พลาเซนตาตามแนวตะเข็บ ผลแห้งแตกช่วงปลาย เมล็ดมีเยื่อหุ้มแหว่ง Sunarno, B. (2005). Revision of the genus Labisia (Myrsinaceae). Blumea 50:
579-597.
สกุล Globba อยู่วงศ์ย่อย Zingiberoideae เผ่า Globbeae มีมากกว่า 100 ชนิด
ส่วนมากพบในเอเชียเขตร้อน ในไทยมีประมาณ 50 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษา
Amboinese ในอินโดนีเซียที่ใช้เรียกพวกขิงข่า
ว่านทับทิมสยาม
Globba siamensis (Hemsl.) Hemsl.
ชื่อพ้อง Achilus siamensis Hemsl.
ไม้ล้มลุก สูงได้ถึง 45 ซม. มี 3-6 ใบ รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 4-10 ซม.
โคนมน แผ่นใบมีขนสั้นนุ่มทั้งสองด้าน ไร้ก้าน ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง
ห้อยลง ยาว 5-12 ซม. ใบประดับสีชมพูอมม่วงหรือขาว รูปรี ยาว 1-4 ซม.
ปลายแหลม พับขึ้นและบิดเล็กน้อย ดอกสีเหลืองอมส้ม หลอดกลีบเลี้ยงยาว
ประมาณ 6 มม. หลอดกลีบดอกยาวประมาณ 1 ซม. ปลายแยกสามแฉก ยาว
ประมาณ 6 มม. กลีบคู่ข้างรูปไข่กลับ พับงอกลับ กลีบปากรูปสามเหลี่ยมแคบ
ยาวประมาณ 5 มม. ปลายแยกสองแฉก ก้านชูอับเรณูยาวประมาณ 1.3 ซม. อับเรณู ว่านนางตัด: โคนเรียวสอบจรดก้านใบเป็นครีบ เส้นแขนงใบจ�านวนมาก ช่อดอกคล้ายช่อเชิงลด ผลมีต่อมกระจาย
มีรยางค์ 2 คู่ ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 0.7-1 ซม. ย่น สีม่วงอมแดง สุกสีแดง (ภาพซ้ายและภาพขวาล่าง: เขาหลวง นครศรีธรรมราช - SSi; ภาพขวาบน: ชุมพร - RP)
390
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 390 3/1/16 6:17 PM