Page 408 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 408
ว่านค้างคาว
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
ว่านงูเห่า
Curcuma rubrobracteata Škorničk., M. Sabu & Prasanthk.
วงศ์ Zingiberaceae
ไม้ล้มลุก เหง้าทอดเลื้อย ใบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 25-60 ซม.
ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่มกว้าง แผ่นใบด้านบนมีขนตามเส้นใบ ก้านใบยาว 6-14 ซม.
ช่อดอกออกที่ยอด ก้านช่อยาว 3-12 ซม. มีขนสั้นนุ่ม ช่อดอกยาว 7-10 ซม. ใบประดับ
สีแดงอมส้ม โคนสีเหลือง รูปรี ยาว 4.5-5 ซม. มีขนสั้นนุ่มทั้งสองด้าน ใบประดับย่อย
รูปไข่กว้าง ยาวประมาณ 3 ซม. มีขนสั้นนุ่ม แต่ละใบประดับมีดอกเดียว ดอกสีเหลือง
ว่านเข้าพรรษา: ใบเรียงเวียนรอบล�าต้น ช่อดอกยาว ดอกเรียงเป็นวงแน่นรอบช่อ ใบประดับเรียงซ้อนเหลื่อม หลอดกลีบดอกยาว 3-3.5 ซม. ด้านนอกมีขนประปราย กลีบบนและกลีบข้างยาว
ปลายโค้งออก กลีบปากสีเหลือง ปลายจักลึก 2 พู (ภาพ: cultivated - RP) ประมาณ 1.5 ซม. กลีบบนคล้ายหมวกรูปคุ่ม ปลายแหลม กลีบข้างเว้า ปลายกลม
ว่านค้างคาว, สกุล กลีบปากรูปรีกว้าง ยาวประมาณ 2 ซม. จัก 3 พู พูกลางปลายเว้าตื้น แผ่นเกสรเพศผู้
ที่เป็นหมันรูปไข่กลับ ยาว 1-1.5 ซม. โคนอับเรณูมีเดือยสั้น ยาวประมาณ 3 มม.
Tacca J. R. Forst. & G. Forst. สันกลมขนาดเล็ก (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กระเจียว, สกุล)
วงศ์ Dioscoreaceae พบที่อินเดีย และพม่า ในไทยพบทางภาคเหนือ และภาคตะวันตกเฉียงใต้ที่
ไม้ล้มลุก เหง้าทอดเลื้อยหรือเป็นหัวกลม ๆ โคนก้านใบเป็นกาบ ช่อดอกแบบ กาญจนบุรี ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ความสูง 200-700 เมตร
ช่อซี่ร่ม ก้านช่อยาว วงใบประดับมี 2-4 อัน หรือหลายอัน เรียงเป็นวง ใบประดับ เอกสารอ้างอิง
ย่อยรูปเส้นด้ายจ�านวนมาก กลีบรวมติดเป็นหลอดสั้นๆ รูปแตรหรือกลม มี 6 กลีบ Maknoi, C., P. Sirirugsa and K. Larsen. (2005). New records of Curcuma L.
ติดทน เกสรเพศผู้ 6 อัน เรียง 2 วง ก้านชูอับเรณูแบน ติดเหนือกลีบดอก ปลาย (Zingiberaceae) in Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 33: 72-73.
แผ่กว้าง อับเรณูติดที่ฐาน รังไข่ใต้วงกลีบ มี 3 คาร์เพลเชื่อมติดกัน พลาเซนตา Škorničkova, M. Sabu and M.G. Prasanthkumar. (2003). A new species of
ตามแนวตะเข็บ ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรแยก 3 แฉก โค้งพับลง ผลสดมี Curcuma L. (Zingiberaceae). from Mizoram, India. Gardens’ Bulletin
Singapore 55(1): 89-95.
หลายเมล็ดหรือผลแห้งแตก
สกุล Tacca เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Taccaceae ปัจจุบันได้รวมเอาสกุล Schizocapsa
ไว้ด้วย มีประมาณ 16 ชนิด ส่วนใหญ่พบในเอเชีย โดยเฉพาะภูมิภาคมาเลเซีย
และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมี 5 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษาพื้นเมืองในอินโดนีเซีย
“taka laoet” ที่ใช้เรียกท้าวยายม่อม T. leontopetaloides (L.) Kuntze
ว่านค้างคาว
Tacca chantrieri André
ไม้ล้มลุก ใบรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว 20-60 ซม. ปลายแหลมหรือ ว่านงูเห่า: ใบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่มกว้าง ใบประดับสีแดงอมส้ม โคนสีเหลือง
เป็นติ่งแหลม โคนแหลม เบี้ยวเล็กน้อย ก้านใบยาว 15-30 ซม. รวมกาบใบ ช่อดอกมี กลีบดอกกลีบบนคล้ายหมวกรูปคุ่ม โคนอับเรณูมีเดือยสั้น (ภาพ: ปางมะผ้า แม่ฮ่องสอน - JM)
1-3 ช่อ ยาวได้ถึง 70 ซม. แต่ละช่อมี 4-25 ดอก ใบประดับมี 2 คู่ ไร้ก้าน สีเขียวอ่อน
อมม่วงหรือสีอมม่วงน�้าตาล คู่นอกรูปไข่ รูปขอบขนาน ยาวได้ถึง 6 ซม. คู่ในรูปไข่ ว่านจันทรกานต์
หรือรูปไข่กลับ ยาว 7-14 ซม. ใบประดับย่อยมี 5-25 อัน สีอ่อนกว่าใบประดับ Monotropa uniflora L.
ยาว 10-25 ซม. หลอดกลีบสั้น กลีบสีม่วงอมน�้าตาล รูปใบหอก ยาว 0.5-1.2 ซม. วงศ์ Ericaceae
ก้านดอกยาว 2-3.5 ซม. ผลสดมีหลายเมล็ด รูปขอบขนานแกมสามเหลี่ยม มี
สันกลาง สีน�้าตาลม่วง เมล็ดรูปคล้ายไต ไม้ล้มลุกกินซาก ไม่มีคลอโรฟิลล์ สูง 15-25 ซม. ขึ้นเป็นกระจุก ช่อดอกสูง
10-30 ซม. ใบประดับเรียงเวียนเป็นแผ่นบาง ๆ รูปไข่หรือรูปขอบขนาน ยาวได้
พบที่อินเดีย ศรีลังกา บังกลาเทศ จีน พม่า ลาว เวียดนาม และคาบสมุทรมลายู ถึง 1 ซม. ช่วงโคนหนา ดอกสีขาว มีดอกเดียว คล้ายรูประฆังงอลง กลีบเลี้ยง
ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1000 เมตร 3-5 กลีบ แนบติดกลีบดอก รูปขอบขนาน ยาว 1-1.5 ซม. ปลายแหลม ขอบจัก
บางครั้งพบเป็นไม้ประดับ กลีบดอก 3-8 กลีบ รูปไข่กลับแกมรูปขอบขนาน ยาว 1.2-2.2 ซม. ด้านในมีขน
สั้นนุ่ม โคนกลีบเป็นถุง ปลายกลม ขอบเรียบหรือจักใกล้ปลายกลีบ เกสรเพศผู้
เอกสารอ้างอิง 10-12 อัน เรียง 2 วง ขนาดไม่เท่ากัน ก้านชูอับเรณูยาว 1-1.5 ซม. มีขนสั้นนุ่ม
Phengklai, C. (1993). Taccaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(1): 1-9.
Ting, C.C. and K. Larsen. (2000). Taccaceae. In Flora of China Vol. 24: 274. อับเรณูเชื่อมติดกัน เปิดด้านปลาย แกนอับเรณูมีแผ่นรยางค์ ยาวประมาณ 2 มม.
จานฐานดอกมี 8-10 พู รังไข่มี 5 ช่อง โคนมีต่อมน�้าต้อย พลาเซนตารอบแกนร่วม
เกสรเพศเมียยาว 2-3 มม. ยอดเกสรรูปกรวย เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 มม.
ผลแห้งแตก รูปรี ตั้งขึ้น ยาว 1-1.5 ซม. เมล็ดจ�านวนมาก ขนาดเล็ก รูปกระสวย
พบทั้งในอเมริกาเหนือและอเมริกาใต้ อินเดีย ภูฏาน เนปาล บังกลาเทศ จีน ญี่ปุ่น
เกาหลี พม่า และภาคเหนือของไทยที่ดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่ ขึ้นตาม
ป่าดิบเขา ความสูงประมาณ 2200 เมตร รากบดแก้อาการชักกระตุกของกล้ามเนื้อ
สกุล Monotropa L. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Monotropaceae เป็นพืชอาศัยอาหาร
จากพวกเห็ดรา (mycoparasitic plant) ในวงศ์ Russulaceae เช่น พวกเห็ดหล่มขาว
เห็ดตะไคล เห็ดพุงหมู เห็ดแดง เป็นต้น มี 3 ชนิด ในไทยมี 2 ชนิด อีกชนิดคือ
M. hypopithys L. พบที่ดอยสุเทพ จังหวัดเชียงใหม่ ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
“monotropos” แบบเดียว ตามลักษณะดอกที่ออกด้านข้างแบบเดียว
เอกสารอ้างอิง
Haining, Q. and G.D. Wallace. (2005). Ericaceae. In Flora of China Vol. 14:
ว่านค้างคาว: ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม ใบประดับขนาดใหญ่ 2 คู่ ไร้ก้าน ใบประดับย่อยรูปเส้นด้ายจ�านวนมาก ผลรูป 255-256.
ขอบขนานแกมสามเหลี่ยม มีสันกลาง (ภาพช่อดอก: กาญจนบุรี - RP; ภาพผล: เขาหลวง นครศรีธรรมราช - SSi) Larsen, K. (2000). Monotropaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(2): 265-267.
388
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 388 3/1/16 6:16 PM