Page 403 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 403

ลิเภาใหญ่  สารานุกรมพืชในประเทศไทย  ลุงขน
                                                                        Lygodium salicifolium C. Presl
                                                                           เฟินขึ้นบนพื้นดิน เลื้อยยาวได้ถึง 10 ม. หรือยาวกว่านี้ เหง้าทอดนอน มีขน
                                                                        สีน�้าตาล ใบประกอบ 2-3 ชั้น ก้านใบมีครีบแคบ ๆ มีขนประปราย ปลายแยก
                                                                        สองครั้ง แกนกลางใบประกอบแรกยาว 2-4 มม. ปลายงัน มีขนสีน�้าตาล แกนกลาง
                                                                        ใบประกอบชั้นที่สองแยกเป็นใบประกอบย่อย กว้าง 4-26 ซม. ยาว 10-28 ซม.
                                                                        โคนแกนใบประกอบมีข้อ มีใบย่อย 3-6 คู่ ยาวเท่า ๆ กัน รูปขอบขนานแกม
                                                                        รูปใบหอก ยาว 4.5-10 ซม. ปลายแหลมยาว โคนคล้ายเงี่ยงรูปใบหอก ขอบจักซี่ฟัน
                                                                        แผ่นใบบาง ก้านใบย่อยยาว 1-7 มม. โคนก้านมีข้อ เส้นแขนงใบแยกเป็นคู่ อับสปอร์
                                                                        เรียงเป็นกลุ่ม กว้างประมาณ 1 มม. ยาว 2-7 มม.
                                                                           พบที่อินเดีย ภูฏาน เนปาล จีนตอนใต้ ไห่หนาน ไต้หวัน พม่า ภูมิภาคอินโดจีน
                                                                        และมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ นิวกินี และไมโครนีเซีย ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามชายป่า
                      ลิ้นมังกร: ช่อดอกแบบช่อกระจะ กลีบปากจัก 3 พู พูกลางรูปช้อน ปลายแฉกลึก 2 พู เดือยรูปทรงกระบอก    ที่โล่งที่ลาดชัน ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร
                    (ภาพดอกสีแดง: เขานัน นครศรีธรรมราช - NT; ภาพดอกสีเหลืองอมส้ม: ภูเขียว ชัยภูมิ - SSi)
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                    ลิเภา, สกุล                                            Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
                                                                              Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
                    Lygodium Sw.                                           Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1979). Polypodiaceae. In Flora of Thailand 3(1): 59-67.
                    วงศ์ Lygodiaceae                                       Xianchun, Z. and J.G. Hanks. (2013). Lygodiaceae. In Flora of China Vol. 2-3:
                                                                              118-121.
                       เฟินขึ้นบนพื้นดิน ล�าต้นแตกแขนง ยาวได้หลายเมตร ใบประกอบ 2-3 ชั้น
                    หรือหลายชั้น เรียงเวียน แกนเลื้อยพันหรือคลุมต้นไม้อื่น ใบประกอบย่อยคล้าย
                    แยก 2 ง่าม ใบย่อยเรียบ รูปฝ่ามือ หรือจักเป็นพูคล้ายใบประกอบ ใบสร้างสปอร์
                    คล้ายใบไม่สร้างสปอร์ ส่วนมากอยู่ช่วงปลายกิ่ง บางครั้งย่อส่วนลง เส้นใบแยก
                    หรือเรียงจรดกัน กลุ่มอับสปอร์ติดตามขอบจักด้านล่างของแผ่นใบ มีเยื่อคลุม

                       สกุล Lygodium เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Schizaeaceae มีประมาณ 40 ชนิด พบใน
                       เขตร้อน ทั้งอเมริกา แอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมี   ลิเภายุ่ง: เฟินเลื้อยพันหรือคลุมพืชอื่น ใบประกอบ 3 ชั้น ใบย่อยโคนตัดหรือเว้าตื้นเป็นติ่งมน กลุ่มอับสปอร์เกิดที่
                       7 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “lygodes” คล้ายต้นหลิว เลื้อยพัน ตามลักษณะ  ขอบใบ (ภาพ: พรุโต๊ะแดง นราธิวาส - PC)
                       ลำาต้น หลายชนิดลำาต้นและแกนกลางใบเหนียว ใช้ทำาเครื่องจักสาน
                    ลิเภายุ่ง
                    Lygodium microphyllum (Cav.) R. Br.
                      ชื่อพ้อง Ugena microphylla Cav.
                       เฟินขึ้นบนพื้นดิน เลื้อยยาว 10-15 ม. เหง้าทอดนอน เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 มม.
                    มีขนสีน�้าตาลด�าหรือแดงตามเหง้า และโคนก้านใบ ใบประกอบ 3 ชั้น แกนกลาง
                    ใบประกอบยาว 5-10 ซม. มีครีบเป็นปีกแคบ ๆ ก้านใบยาวได้ถึง 10 ซม. ใบประกอบ
                    ย่อยยาว 5-8 ซม. เรียงห่าง ๆ กัน ก้านยาว 3-6 มม. มีใบย่อยข้างละ 3-7 ใบ เรียงสลับ
                    ก้านใบย่อยยาว 2-4 มม. ใบย่อยที่ไม่สร้างสปอร์รูปสามเหลี่ยม หรือจักเว้า 2-3 แฉก   ลิเภาหางไก่: เฟินเลื้อยพันต้นไม้ ใบย่อยแฉกลึกรูปฝ่ามือ กลุ่มอับสปอร์เกิดที่ขอบใบ (ภาพ: ทะเลบัน สตูล - TP)
                    ยาว 1.5-3 ซม. กว้าง 1-2 ซม. ปลายมนกลม โคนตัดหรือเว้าตื้นเป็นติ่งมน เส้นใบ
                    แตกเป็นง่าม ใบย่อยสร้างสปอร์ขนาดเล็กและแคบกว่าเล็กน้อย กลุ่มอับสปอร์
                    เกิดที่ขอบใบ
                       พบในเอเชีย แอฟริกา ออสเตรเลีย อเมริกาเหนือ และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทย
                    พบทุกภาค ขึ้นตามลุ่มน�้าขัง ชายป่า ขอบป่าพรุ ความสูงระดับต�่า ๆ น�้าคั้นจาก
                    ต้นมีสรรพคุณแก้อาการอักเสบภายใน และท้องเสีย

                    ลิเภาหางไก่
                    Lygodium circinnatum (Burm. f.) Sw.                   ลิเภาใหญ่: ใบประกอบ 2-3 ชั้น มีใบย่อย 3-6 คู่ ยาวเท่า ๆ กัน รูปขอบขนานแกมรูปใบหอก อับสปอร์เรียงเป็นกลุ่ม
                      ชื่อพ้อง Ophioglossum circinatum Burm. f.         (ภาพวิสัย: กุยบุรี ประจวบคีรีขันธ์ - SSa; ภาพใบประกอบย่อยและกลุ่มอับสปอร์: แก่งกระจาน เพชรบุรี - PK)
                       เฟินขึ้นบนพื้นดิน เลื้อยยาวได้ถึง 10 ม. ปลายเป็นปีกแคบ ๆ เหง้าสั้น มีขนสีด�า  ลุงขน
                    หนาแน่น ใบประกอบ 3 ชั้น แกนกลางใบประกอบสั้น ก้านใบยาว 40-50 ซม.
                    โคนก้านใบมีขนสีด�า แกนกลางใบประกอบย่อยยาว 2-6 ซม. ใบย่อยแฉกลึกรูป  Ficus drupacea Thunb.
                    ฝ่ามือ 2-7 พู กว้าง 2-3 ซม. ยาว 20-25 ซม. ปลายแหลม โคนรูปลิ่มหรือรูปลิ่มกว้าง   วงศ์ Moraceae
                    ขอบจักเป็นคลื่นเล็กน้อย หนา เส้นใบแตกเป็นง่าม มีขนประปราย ใบสร้างสปอร์แคบ   ไม้ต้นขึ้นบนพื้นดิน หรือกึ่งอาศัย สูงได้ถึง 25 ม. หรือสูงกว่านี้ มีขนสั้นนุ่มสี
                    กลุ่มอับสปอร์เกิดที่ขอบใบ ยาว 2-5 มม.               น�้าตาลแดงหรือเกลี้ยงตามกิ่ง หูใบ แผ่นใบทั้งสองด้าน ก้านใบ และผล กิ่งมี
                       พบที่อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์   ช่องอากาศกระจาย หูใบยาว 1-2 ซม. ร่วงเร็ว ใบรูปรี รูปไข่กลับ หรือรูปขอบขนาน
                    ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้   ยาว 7-35 ซม. ปลายแหลมเป็นติ่งสั้น ๆ โคนมน กลม หรือเว้าตื้น แผ่นใบหนา
                    ขึ้นตามป่าดิบชื้น ชายป่าดิบชื้น และชายป่าพรุ ความสูงถึงประมาณ 1500 เมตร  เส้นแขนงใบข้างละ 6-14 เส้น มีต่อมไขที่โคนเส้นกลางใบ ก้านใบยาว 1-4.5 ซม.
                                                                        กลีบรวมสีขาวหรืออมชมพูอยู่ภายในฐานดอกที่ขยายใหญ่และอวบน�้า ออกเป็นคู่

                                                                                                                    383






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   383                                                                 3/1/16   6:15 PM
   398   399   400   401   402   403   404   405   406   407   408