Page 402 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 402
ล�าภูรา
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
ถึงกลม แผ่นใบหนา ด้านล่างมีขนกระจุกรูปดาวสีน�้าตาลอ่อนหนาแน่น ด้านบน
มีขนประปราย มีรูหยดน�้ากระจาย ขอบม้วนงอ ก้านใบยาว 1-30 ซม. โคนมีเกล็ด
และขนหนาแน่น เส้นแขนงใบชัดเจน เส้นใบไม่ชัดเจน เรียงจรดกัน กลุ่มอับสปอร์กลม
กระจายบนแผ่นใบด้านล่างหรือเฉพาะส่วนปลาย (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ กีบม้าลม, สกุล)
พบที่อินเดีย ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค
ขึ้นในป่าผลัดใบและไม่ผลัดใบ ความสูงถึงประมาณ 2000 เมตร ส่วน var. lingua
แผ่นเกล็ดขอบมีขนครุย โคนไม่เป็นสีด�า ในไทยพบทางภาคเหนือที่เชียงใหม่
เชียงราย
ล�าแพนหิน: ปลายและโคนใบกลม ผลกลมแป้น ผิวด้าน จานรูปถ้วยแผ่กว้าง (ภาพ: ระนอง - PK) เอกสารอ้างอิง
Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
ลำาภูรา Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
Maniltoa polyandra (Roxb.) Harms Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1989). Polypodiaceae. In Flora of Thailand 3(4):
วงศ์ Fabaceae 505-507.
ชื่อพ้อง Cynometra polyandra Roxb.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. ตาที่ยอดเรียงซ้อนเหลื่อม กิ่งมีช่องอากาศ หูใบรูปแถบ ยาว
2.5-3 ซม. ใบประกอบปลายคู่ มีใบย่อย 2-3 คู่ รูปไข่แกมรูปขอบขนาน ยาว 3.5-8 ซม.
เบี้ยว ปลายแหลมยาว ไร้ก้าน แผ่นใบด้านล่างมีขนตามเส้นกลางใบและเส้นแขนงใบ
เส้นแขนงใบข้างละ 9-11 เส้น ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกสั้น ๆ ตามซอกใบ
ใบประดับเป็นเกล็ด ติดทน ใบประดับย่อย 2 อัน ขนาดไม่เท่ากัน ยาว 5-7 มม.
ก้านดอกยาว 1.5-3 ซม. มีขนสั้นนุ่ม กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ขนาดไม่
เท่ากัน ยาว 7-9 มม. เรียงซ้อนเหลื่อม พับงอกลับ กลีบดอก 5 กลีบ รูปใบหอก
ยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง พับงอกลับ เกสรเพศผู้จ�านวนมาก โคนก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกัน
รังไข่มีขนแบบขนแกะหนาแน่น มีก้านสั้น ๆ ติดเบี้ยวบนฐานดอก ก้านเกสรเพศเมีย
ยาวประมาณ 5 มม. ยอดเกสรรูปโล่ ผลเปลือกแข็ง รูปรี โค้งงอเล็กน้อย ผนังหนา
ผิวขรุขระ มี 2 เมล็ด
พบที่อินเดีย บังกลาเทศ พม่า ลาว กัมพูชา คาบสมุทรมลายู และภาคใต้ของ ลิ้นกุรัม: เฟินเกาะอิงอาศัยหรือขึ้นบนหิน เหง้าทอดเลื้อย แผ่นใบหนา ด้านล่างมีขนกระจุกรูปดาวสีน�้าตาลอ่อน
ไทยที่คลองล�าภูรา อ�าเภอห้วยยอด จังหวัดตรัง อันเป็นที่มาของชื่อไทย ขึ้นตาม หนาแน่น กลุ่มอับสปอร์กลม กระจายบนแผ่นใบด้านล่าง (ภาพ: ภูหินร่องกล้า พิษณุโลก - PK)
ริมล�าธารในป่าดิบชื้นที่เป็นหินปูน ความสูง 100-200 เมตร
ลิ้นมังกร
สกุล Maniltoa Scheff. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Caesalpinioideae เผ่า Detarieae Habenaria rhodocheila Hance
คล้ายกับสกุลมะคะ Cynometra แต่มีจำานวนเกสรเพศผู้มากกว่า มี 20-25 ชนิด วงศ์ Orchidaceae
พบในเอเชียเขตร้อน ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก พบมากในนิวกินี ใน
ไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษามาเลเซียหรือปาปัวที่ใช้เรียกพืชในสกุลนี้ กล้วยไม้ดิน มีหัวใต้ดิน มี 2-7 ใบ เรียงเวียน รูปขอบขนานหรือรูปใบหอก ยาว
4-24 ซม. ปลายแหลมหรือมีติ่งแหลม โคนใบแผ่เป็นกาบ แผ่นใบบาง บางครั้งมี
เอกสารอ้างอิง จุดสีเขียวอมเทากระจาย ใบประดับ 2-10 ใบ ตั้งขึ้น รูปใบหอก ยาวได้ถึง 8 ซม.
Larsen, K. (1993). Maniltoa Scheffer (Leguminosae-Caesalpinioideae). A genus ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกที่ปลายยอด ยาว 7-18 ซม. มีได้ถึง 20 ดอก แกนช่อยาว
new to Thailand. Thai Forest Bulletin (Botany) 20: 91-95.
1-6 ซม. ใบประดับย่อยรูปใบหอก ยาว 1.5-2.2 ซม. ดอกสีแดง เหลือง ส้ม และชมพู
กลีบเลี้ยงสีเขียวอ่อน รูปรี กลีบบนยาว 0.6-1.5 ซม. กลีบคู่ข้างยาว 0.8-1.3 ซม.
โคนเชื่อมติดกับกลีบปาก กลีบดอกคล้ายถุงติดกับกลีบเลี้ยงบน รูปรี ยาว 0.6-1.3 ซม.
มีเส้นกลีบ 1 เส้น กลีบปากจัก 3 พู กว้าง 1.2-2.3 ซม. ยาว 1.6-2.7 ซม. มีก้านกลีบ
พูข้างแผ่ออกคล้ายพัด พูกลางรูปช้อน ยาวกว่าพูด้านข้าง ปลายแฉกลึก 2 พู
เดือยรูปทรงกระบอก ยาว 3-5 ซม. เส้าเกสรยาว 3-5 มม. อับเรณูเป็นร่อง ยาว 4-8 มม.
มีจะงอย ก้านดอกรวมรังไข่ ยาว 2-3 ซม. ฝักแห้งแตก รูปกระสวย ยาว 2.8-3.8 ซม.
พบที่พม่า จีนตอนใต้ ไห่หนาน ภูมิภาคอินโดจีน คาบสมุทรมลายู และ
ฟิลิปปินส์ ในไทยพบทุกภาค ขึ้นในสภาพป่าหลายประเภท และป่าสน โดยเฉพาะ
บนก้อนหินริมล�าธาร และลานหินทราย ความสูงถึงประมาณ 1300 เมตร มีความ
ล�าภูรา: ใบประกอบแบบขนนกแบบปลายคู่ มี 2-3 คู่ ไร้ก้าน ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกสั้น ๆ ตามซอกใบ กลีบเลี้ยง
และกลีบดอกพับงอกลับ เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ผลผนังหนา ผิวขรุขระ (ภาพ ห้วยยอด ตรัง - RP) ผันแปรสูงทั้งรูปร่างและสีของดอก แยกเป็น subsp. philippinensis (Ames)
Christenson เป็นพืชถิ่นเดียวของฟิลิปปินส์ ส่วน subsp. rhodocheila อาจ
ลิ้นกุรัม แยกเป็นหลายชนิด
Pyrrosia lingua (Thunb.) Farw. var. heteractis (Mett. ex Kuhn)
Hovenkamp สกุล Habenaria Willd. เป็นกล้วยไม้ดิน อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Orchidoideae เผ่า
Orchideae มีประมาณ 600 ชนิด ในไทยมี 45 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษาละติน
วงศ์ Polypodiaceae “habena” หมายถึง สายหนังหรือสายรัด ตามลักษณะของเดือยที่ยาว
ชื่อพ้อง Polypodium heteractis Mett. ex Kuhn, Pyrrosia eberhardtii (Christ) Ching
เฟินเกาะอิงอาศัยหรือขึ้นบนหิน เหง้าทอดเลื้อยยาว เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3.5 มม. เอกสารอ้างอิง
Chen, X. and P.J. Cribb. (2009). Orchidaceae (Habenaria). In Flora of China
เกล็ดยาวได้ถึง 7 มม. โคนและส่วนกลางเกล็ดสีด�า ขอบสีน�้าตาล ช่วงปลายมี Vol. 25: 144, 157.
ขนยาวม้วนงอ ใบสร้างสปอร์และไม่สร้างสปอร์คล้ายกัน เรียบ รูปรีถึงรูปใบหอก Kurzweil, H. (2011). Orchidaceae (Habenaria). In Flora of Thailand Vol. 12(1):
หรือแกมรูปไข่ กว้าง 2-7 ซม. ยาว 5-22 ซม. ปลายมนหรือแหลมยาว โคนรูปลิ่ม 134-136.
382
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 382 3/1/16 6:14 PM