Page 397 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 397

ละหุ่งเครือ
                                                                                   สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                    แรดหนุนหิน                                             สกุล Porana Burm. f. มีหลายชนิดถูกแยกเป็นสกุลอื่น ๆ เช่น Dinetus, Poranopsis,
                    Loeseneriella pauciflora (DC.) A. C. Sm.               และ Tridynamia ปัจจุบันมี 2 ชนิด พบในเอเชียและเม็กซิโกอย่างละ 1 ชนิด ชื่อสกุล
                                                                           มาจากภาษากรีก “poreno” ท่องเที่ยว หมายถึงเป็นไม้เถาที่เลื้อยไปตามที่ต่าง ๆ
                    วงศ์ Celastraceae
                      ชื่อพ้อง Hippocratea pauciflora DC.                 เอกสารอ้างอิง
                                                                           Staples, G. (2010). Convolvulaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 453-454.
                       ไม้เถาเนื้อแข็งหรือไม้พุ่มทอดเลื้อย หูใบร่วมรูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ใบเรียง
                    ตรงข้ามสลับตั้งฉาก รูปรีถึงรูปใบหอก หรือแกมรูปไข่ ยาว 3.5-16 ซม. ปลายแหลม
                    หรือแหลมยาว ขอบจักมนหรือเรียบ ก้านใบยาว 3-7 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก
                    ยาว 1-4 ซม. มีขนสีน�้าตาลแดงหนาแน่น ก้านช่อยาว 1-2 ซม. ใบประดับขนาดเล็ก
                    ก้านดอกยาว 2-5 มม. กลีบเลี้ยงมี 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยมขนาดเล็ก ดอกสีเหลือง
                    อมเขียว ด้านนอกมีขน มี 5 กลีบ รูปไข่แกมรูปขอบขนาน ยาว 3-5 มม. เกสรเพศผู้
                    3 อัน ติดที่โคนเกสรเพศเมีย ยาวประมาณ 2 มม. จานฐานดอกกลม รังไข่มี 3 ช่อง
                    ติดบนจานฐานดอก ผลแห้งแตก มี 3 ฝัก กางออก รูปไข่กลับหรือแกมรูปขอบขนาน
                    ยาว 2.5-8 ซม. แต่ละฝักมี 5-8 เมล็ด รูปไข่แกมรูปขอบขนาน ยาว 1-2 ซม. โคนมีปีก
                    ยาว 2-4 ซม.
                                                                          ลดาวัลย์: ไม้เถา ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ดอกรูประฆัง สีขาว (ภาพ: cultivated - RP)
                       พบในภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย นิวกินี และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบ
                    กระจายห่าง ๆ ทุกภาค ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น หรือบนเขาหินปูน ความสูง  ละหุ่ง
                    ถึงประมาณ 1000 เมตร                                 Ricinus communis L.
                                                                        วงศ์ Euphorbiaceae
                       สกุล Loeseneriella A. C. Sm. มี 26 ชนิด พบในแอฟริกาและเอเชีียเขตร้อน
                       ในไทยมี 3 ชนิด ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวเยอรมัน Ludwig Eduard   ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 5 ม. แยกเพศร่วมต้น มีต่อมน�้าต้อยกระจายตามขอบหูใบ
                       Theodor Loesener (1865-1941)                     โคนก้านใบ โคนแผ่นใบ และโคนใบประดับ หูใบเชื่อมติดกันรูปสามเหลี่ยม ยาวได้ถึง
                                                                        1.5 ซม. โอบรอบกิ่ง ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน รูปฝ่ามือ 6-11 แฉก เส้นผ่านศูนย์กลาง
                      เอกสารอ้างอิง                                     10-20 ซม. โคนแบบก้นปิด ขอบจักฟันเลื่อยไม่เท่ากัน ปลายจักเป็นต่อม ช่อดอกแบบ
                       Hou, D., I.A. Savinov and P.C. van Welzen. (2010). Celastraceae. In Flora of   ช่อกระจะ หรือแยกแขนงสั้น ๆ ดอกเพศผู้อยู่ช่วงล่าง ดอกเพศเมียอยู่ช่วงบน
                          Thailand Vol. 10(2): 397-400.                 ไม่มีกลีบดอกและจานฐานดอก กลีบเลี้ยง 5 กลีบ แยกจรดโคน รูปสามเหลี่ยม
                                                                        ยาวได้ถึง 1 ซม. ในดอกเพศเมียคล้ายเกล็ด เกสรเพศผู้เชื่อมติดกันเป็นมัด แยก
                                                                        สองแฉกหลายหน รังไข่ 3 ช่อง แต่ละช่องมีออวุลเม็ดเดียว มีเกล็ดคล้ายหนาม
                                                                        ก้านเกสร 3 อัน ยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง ปลายแฉกลึก ติดทน ผลแห้งแตก รูปรี ยาว
                                                                        ประมาณ 1.5 ซม. จัก 3 พู มีขนคล้ายหนาม เมล็ดผิวมีปื้นสีน�้าตาล จุกขั้วจัก 2 พู
                                                                           มีถิ่นก�าเนิดในแอฟริกา ปลูกเป็นพืชเศรษฐกิจ เมล็ดให้น�้ามัน castor oil และ
                                                                        wonder oil ใช้ในอุตสาหกรรมเคลือบเงา ท�าสี เคลือบหนัง หมึกพิมพ์ สบู่ น�้ามัน
                                                                        หล่อลื่น และมีสรรพคุณแก้พิษต่าง ๆ เมล็ดมีพิษร้ายแรงถึงชีวิต

                                                                           สกุล Ricinus L. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Acalyphoideae เผ่า Acalypheae มีชนิดเดียว
                                                                           มีความผันแปรสูงเนื่องจากมีการเพาะปลูกมายาวนานตั้งแต่สมัยอียิปต์โบราณ
                                                                           ทำาให้มีการจำาแนกเป็นหลายพันธุ์ ชื่อสกุลเป็นภาษาละติน “ricinus” หมัด
                                                                           ตามลักษณะของเมล็ดที่มีรอยปื้นสีน้ำาตาลคล้ายตัวหมัด
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                      แรดหนุนหิน: ใบเรียงตรงข้ามสลับฉากตั้งฉาก ดอกสีเหลืองอมเขียว เกสรเพศผู้ 3 อัน ผลมี 3 ฝัก กางออก แห้งแตก   van Welzen, P.C. (2007). Euphorbiaceae (Ricinus). In Flora of Thailand Vol. 8(2):
                    (ภาพซ้าย: เกาะสุรินทร์ พังงา - SSi; ภาพขวา: ภูวัว บึงกาฬ - MT)  517-520.
                    ลดาวัลย์
                    Porana volubilis Burm. f.
                    วงศ์ Convolvulaceae
                       ไม้เถา กิ่งมีช่องอากาศ ใบเรียงเวียน รูปไข่หรือเกือบกลม ยาว 5-10.5 ซม.
                    ปลายแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง ปลายมีติ่งแหลม โคนกลม ตัด หรือเว้าตื้น
                    มักมีขนประปรายตามเส้นแขนงใบด้านล่าง ก้านใบยาว 1-3 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุก
                    แยกแขนง ออกตามซอกใบ ยาว 10-25 ซม. ช่อที่ปลายกิ่งสั้น ใบประดับคล้ายใบ
                    ยาว 2-4.5 ซม. ติดทน ก้านดอกยาว 3-5 มม. ใบประดับย่อย 2 ใบ คล้ายเกล็ด
                                                                          ละหุ่ง: ใบรูปฝ่ามือ หูใบเชื่อมติดกันรูปสามเหลี่ยม โอบรอบกิ่ง ช่อดอกแบบช่อกระจะ ดอกเพศผู้อยู่ช่วงล่าง ดอกเพศเมีย
                    กลีบเลี้ยงกลีบนอก 2 กลีบ กลีบใน 3 กลีบ รูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 4-5 มม.   อยู่ช่วงบน ผลมี 3 พู ผิวมีขนคล้ายหนาม (ภาพ: cultivated - RP)
                    ดอกรูประฆัง สีขาว ยาว 7-8 มม. มี 5 กลีบ รูปรีหรือรูปขอบขนาน ด้านนอกมี
                    ขนประปราย เกสรเพศผู้ 5 อัน ยาว 5-6 มม. อับเรณูไม่เป็นหนาม รังไข่ส่วนมาก  ละหุ่งเครือ
                    มีช่องเดียว ออวุล 4 เม็ด ก้านเกสรเพศเมีย 2 แฉกไม่เท่ากัน เหนือจุดกึ่งกลาง   Byttneria andamanensis Kurz
                    ยอดเกสรจัก 2 พู ผลเป็นกระเปาะ รูปไข่หรือจัก 2-3 พู เส้นผ่านศูนย์กลาง 2-4 มม.   วงศ์ Malvaceae
                    กลีบเลี้ยงเป็นแผ่นบาง พับงอ ยาวประมาณ 1 ซม. ส่วนมากมีเมล็ดเดียว
                                                                           ไม้เถา กิ่งเกลี้ยง มีริ้ว ใบรูปหัวใจ มี 3-5 พู พูข้างปลายแหลม พูกลางปลาย
                    เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-3 มม.                         แหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง โคนรูปหัวใจ ขอบจักซี่ฟันหรือจักฟันเลื่อยสองชั้น
                       มีถิ่นก�าเนิดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ แต่ในไทยไม่พบกระจายพันธุ์ตาม  เส้นโคนใบข้างละ 2-3 เส้น ก้านใบยาว 4-13 ซม. ช่อดอกยาวได้ถึง 15 ซม. มีขนกระจุก
                    ธรรมชาติ เป็นไม้ประดับ ดอกมีกลิ่นหอม ไม่ติดผล       กระจาย ก้านดอกยาว 0.3-1 ซม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาวประมาณ 3 มม. มีขน


                                                                                                                    377






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   377                                                                 3/1/16   6:13 PM
   392   393   394   395   396   397   398   399   400   401   402