Page 399 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 399

ล�าเท็ง
                                                                                   สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                       ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก และภาคตะวันออกเฉียงใต้ของไทย   ขยายกว้างประมาณ 2.5 ซม. สูงประมาณ 1.5 ซม. แฉกตื้น ๆ ปลายแหลม
                       ก้านใบขอบมีปื้นสีดำา ช่อดอกสูงมากกว่า 5 เมตร ช่อแยกแขนงไม่หนาแน่น ส่วน   ด้านในมีขนสั้นนุ่ม เอนโดสเปิร์มเรียบ (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ มะเกลือ, สกุล)
                       ลาน C. umbraculifera L. มีถิ่นกำาเนิดในศรีลังกาและอินเดียทางตอนใต้ ในไทย  พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือ และภาคตะวันออก ขึ้นตามป่าดิบแล้ง
                       นำาเข้ามาปลูกนานมาแล้ว โดยเฉพาะตามวัด ก้านใบไม่มีปื้นสีดำา แต่โคนก้านใบ  ความสูง 200-500 เมตร
                       เป็นติ่งคล้ายหู ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “koryphe” ยอด ตามลักษณะช่อดอกที่
                       ออกตามยอด และใบเรียงเวียนหนาแน่นที่ยอด             เอกสารอ้างอิง
                                                                           Phengklai, C. (1981). Ebenaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(4): 85.
                      เอกสารอ้างอิง
                       Barford, A.S. and J. Dransfield. (2013). Arecaceae. In Flora of Thailand Vol.
                          11(3): 392-395.














                      ลานพรุ: ถิ่นที่อยู่ตามที่โล่ง ใบรูปพัด ใบแยกเป็นแฉกลึกมากกว่ากึ่งหนึ่งหรือเกือบจรดเส้นกลางใบ ช่อดอกออกที่ยอด
                    สูงได้ถึง 5 ม. (ภาพ: นครศรีธรรมราช - RP)
                    ลำาดวนดอย                                           เล็กน้อย (ภาพ: สะแกราช นครราชสีมา - AS)
                                                                          ล�่าตาควาย: กิ่งมีช่องอากาศ กลีบเลี้ยงแฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง มีขนสั้นนุ่ม ขยายแผ่กว้างในผล ผลกลมแป้น จักเป็นพู
                    Mitrephora wangii Hu
                    วงศ์ Annonaceae                                     ลำาเท็ง
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่งอ่อน กลีบเลี้ยงด้านนอก ก้านดอก   Stenochlaena palustris (Burm. f.) Bedd.
                    กลีบดอก และผล กิ่งแก่มีช่องอากาศ ใบรูปใบหอกหรือรูปขอบขนาน ยาว 10-27 ซม.   วงศ์ Blechnaceae
                    ปลายแหลมยาว เส้นแขนงใบข้างละ 10-14 เส้น แผ่นใบหนา ด้านล่างมีขนประปราย   ชื่อพ้อง Polypodium palustre Burm. f.
                    ก้านใบยาว 0.5-1 ซม. ช่อดอกสั้น ออกตามซอกใบหรือตามรอยแผลใบของกิ่งแก่   เฟินขึ้นบนดิน แล้วเลื้อยอิงอาศัยตามล�าต้นของต้นไม้หรือโขดหิน เหง้าแข็ง
                    มี 1-3 ดอก ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว 1.5-2.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูป  สีเขียว เรียวยาว ปลายเหง้ามีเกล็ดรูปโล่ ยาวประมาณ 1 มม. ใบประกอบชั้นเดียว
                    เกือบกลม ยาว 3-3.5 มม. กลีบดอกรูปไข่กว้าง กลีบวงนอกยาวประมาณ 3 ซม.   กว้าง 20-30 ซม. ยาว 40-70 ซม. ก้านใบยาว 10-15 ซม. ใบย่อยมี 10-15 คู่
                    ขอบเป็นคลื่น สีเหลืองอ่อน ด้านในมีขนยาว กลีบวงในสีม่วง ยาว 1-2 ซม.   ใบไม่สร้างสปอร์ กว้าง 2-4.5 ซม. ยาว 10-20 ซม. ปลายแหลมยาว โคนรูปลิ่ม
                    ก้านกลีบสั้น โคนคล้ายเงี่ยงลูกศร ปลายกลีบโค้งจรดกันคล้ายหมวก เกสรเพศผู้  ขอบจักฟันเลื่อยไม่เป็นระเบียบ แผ่นใบค่อนข้างหนา ด้านบนสีเขียวเข้มเป็นมันเงา
                    ยาวประมาณ 1 มม. มี 8-10 คาร์เพล แต่ละคาร์เพลมีออวุล 6-8 เม็ด ผลย่อย  เส้นแขนงใบย่อยจ�านวนมากเรียงขนานกัน ก้านใบสั้น ใบสร้างสปอร์เรียวแคบ
                    รูปขอบขนาน ยาว 3-6 ซม. ก้านยาว 1-1.5 ซม. (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ มหาพรหม, สกุล)  กว้าง 1-5 มม. ยาวได้ถึง 20 ซม. ขอบม้วนขึ้นด้านบน กลุ่มอับสปอร์สีน�้าตาล
                       พบที่จีนตอนใต้ และภาคเหนือตอนบนของไทยที่ดอยตุง จังหวัดเชียงราย ขึ้นตาม  เหลืองเรียงกระจายทั่วแผ่นใบ ยกเว้นบริเวณเส้นกลางใบและขอบใบ
                    ป่าดิบเขา ความสูงประมาณ 1300 เมตร                      พบที่อินเดีย จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ออสเตรเลีย ในไทย
                                                                        พบทุกภาค พบมากทางภาคใต้ มักขึ้นตามที่โล่งชื้นแฉะ และป่าพรุ ความสูงถึง
                      เอกสารอ้างอิง
                       Li, B., A.D. Weerasooriya and R.M.K. Saunders. (2001). Annonaceae (Mitrephora).   ประมาณ 400 เมตร ใบน�าไปฟอกขาว ย้อมสีใช้ประดับ ล�าต้นใช้ท�าเชือก เครื่องสาน
                          In Flora of China Vol. 19: 688.               ใบและยอดอ่อนสีน�้าตาลแดง ลวกจิ้มน�้าพริกหรือใส่แกงเลียง
                                                                           สกุล Stenochlaena J. Sm. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Pteridaceae มี 6 ชนิด พบใน
                                                                           แอฟริกา เอเชีย และออสเตรเลีย ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก
                                                                           “stenos” แคบ และ “chlaenion” ผ้าห่ม ตามลักษณะใบสร้างสปอร์และกลุ่ม
                                                                           อับสปอร์เรียงเป็นผืน
                                                                          เอกสารอ้างอิง
                                                                           Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
                      ล�าดวนดอย: ช่อดอกสั้น ออกตามรอยแผลใบของกิ่งแก่ กลีบดอก 6 กลีบ เรียง 2 วง วงในปลายกลีบโค้งจรดกัน  Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
                    คล้ายหมวก ผลย่อยรูปขอบขนาน (ภาพ: ดอยตุง เชียงราย - RP)  Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1985). Pteridaceae. In Flora of Thailand 3(2): 259-260.
                    ล่ำาตาควาย
                    Diospyros coaetanea H. R. Fletcher
                    วงศ์ Ebenaceae
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. กิ่งมีช่องอากาศ ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 6-20 ซม.
                    แผ่นใบด้านล่างมีขนประปราย ก้านใบยาว 0.7-1 ซม. ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว
                    2-3 มม. กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาวประมาณ 2 มม. มี 4 กลีบ แฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง
                    มีขนสั้นนุ่ม หลอดกลีบดอกยาว 3-4 มม. ปลายแฉกตื้น ๆ เกสรเพศผู้ 10-14 อัน
                    รังไข่ที่ไม่เจริญปลายมีขนยาว ดอกเพศเมียกลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ
                    5 กลีบ กลีบเลี้ยงขยายในผล แผ่กว้าง ผลกลมแป้น แห้งจักเป็นพูเล็กน้อย    ล�าเท็ง: เหง้าแข็ง ใบประกอบชั้นเดียว ใบสร้างสปอร์เรียวแคบ กลุ่มอับสปอร์เรียงเป็นผืน (ภาพ: พรุโต๊ะแดง
                    เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 4 ซม. ก้านหนา ยาวประมาณ 1 ซม. กลีบเลี้ยงไม่พับงอ   นราธิวาส - PC)

                                                                                                                    379






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   379                                                                 3/1/16   6:14 PM
   394   395   396   397   398   399   400   401   402   403   404