Page 394 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 394
รางจืด
รางจืด, สกุล สารานุกรมพืชในประเทศไทย
Thunbergia Retz.
วงศ์ Acanthaceae
ไม้เถาล้มลุกหรือไม้พุ่ม ใบเรียงตรงข้าม ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นช่อแบบ
ช่อกระจะ ช่อย่อยแบบช่อกระจุก ใบประดับคล้ายใบ 2 ใบ ใบประดับย่อย 2 ใบ
หุ้มกลีบเลี้ยง กลีบเลี้ยงรูปถ้วย ขอบจักตื้น ๆ รูปลิ่มแคบ หรือเรียบ ดอกรูปแตร
ปลายแยกเป็น 5 กลีบ บิดเวียนในตาดอก เกสรเพศผู้อันยาว 2 อัน อันสั้น 2 อัน
ติดใกล้โคนหลอดกลีบดอก ไม่ยื่นพ้นปากหลอด อับเรณูมี 2 พู จานฐานดอก
คล้ายเบาะ มีต่อมน�้าต้อย รังไข่มี 2 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมีย
เรียวยาว ยอดเกสรจัก 2 พู เรียบหรือจักชายครุย ผลแห้งแตก 2 ซีกตามยาว
ปลายเป็นจะงอย มี 2-4 เมล็ด เรียบ
รางจืด: ใบเรียงตรงข้าม รูปขอบขนาน ช่อดอกแบบช่อกระจะ ออกตามปลายกิ่ง ใบประดับคล้ายใบ ดอกรูปแตร
สกุล Thunbergia อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Thunbergioideae มีประมาณ 90 ชนิด กลีบดอกขนาดเท่า ๆ กัน เกสรเพศผู้ไม่ยื่นพ้นปากหลอดกลีบดอก (ภาพ: cultivated - RP)
พบในแอฟริกา มาดากัสการ์ และเอเชียเขตร้อน ในไทยมีพืชพื้นเมืองประมาณ
8 ชนิด และนำาเข้ามาเป็นไม้ประดับ 3 ชนิด ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์
ชาวสวีเดน Carl Peter Thunberg (1743-1828)
รางจืด
Thunbergia laurifolia Lindl.
ไม้เถา ยาวมากกว่า 10 ม. ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ช่วงโคนใบ
บางครั้งจักตื้น ๆ ยาว 4-18 ซม. ปลายแหลมหรือแหลมยาว โคนกลม ตัด เว้าตื้น
หรือคล้ายลูกศร ขอบจักซี่ฟันตื้น ๆ ห่างๆ แผ่นใบเกลี้ยง เส้นโคนใบส่วนมากมี
ข้างละ 2 เส้น ก้านใบยาวได้ถึง 6 ซม. ช่อดอกยาวได้ถึง 30 ซม. แต่ละกระจุกมีประมาณ รางจืดภูคา: ช่อดอกเป็นกระจุกสั้น ๆ ตามซอกใบ ใบประดับย่อยคล้ายกาบหุ้มกลีบเลี้ยง ดอกรูปแตร ผลฐานกลม
4 ดอก ก้านดอกยาว 1-3 ซม. ใบประดับย่อยหุ้มกลีบเลี้ยง รูปขอบขนาน ยาวได้ถึง ปลายเป็นจะงอย แห้งแตก (ภาพ: ดอยภูคา น่าน; ภาพดอก - RP, ภาพผล - SSi)
3 ซม. กลีบเลี้ยงรูปถ้วยขนาดเล็ก ขอบเกือบเรียบ มีต่อมน�้าต้อย ดอกสีม่วงอมน�้าเงิน ราชพฤกษ์, สกุล
หรือสีขาว ด้านในสีครีมอมเหลือง หลอดกลีบดอกยาว 3-5 ซม. กลีบกลมหรือ
รูปไข่กว้าง ยาว 2-4 ซม. ก้านชูอับเรณู ยาว 0.8-1 ซม. อับเรณูยาวเท่า ๆ ก้านชูอับเรณู Cassia L.
รังไข่เกลี้ยง ผลเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.5 ซม. จะงอยยาว 1.5-3 ซม. วงศ์ Fabaceae
พบที่อินเดีย พม่า และมาเลเซีย ในไทยพบกระจายห่างๆ ทุกภาค พบมากทาง ไม้ต้น ใบประกอบเรียงเวียนหรือเรียงสลับระนาบเดียว แกนและก้านใบไม่มีต่อม
ภาคตะวันตกเฉียงใต้ ขึ้นตามชายป่าเบญจพรรณ และป่าดิบแล้ง ความสูงถึงประมาณ ใบย่อยเรียงตรงข้าม ไม่มีหูใบย่อย ช่อดอกแบบช่อแยกแขนงหรือช่อกระจะ ก้านดอก
800 เมตร เป็นไม้ประดับ หรือขึ้นเป็นวัชพืช คล้ายกับสร้อยอินทนิล T. grandiflora มีใบประดับ 2 ใบ ที่โคนหรือเหนือโคนเล็กน้อย กลีบเลี้ยง 5 กลีบ พับงอกลับ
(Roxb. ex Rottler) Roxb. ที่ใบจักเป็นพู และช่อดอกยาวกว่า มีสรรพคุณใช้ ดอกสมมาตรด้านข้าง มี 5 กลีบ เกสรเพศผู้ 10 อัน ยาว 3 อัน หน้ากลีบดอก
ถอนพิษ แก้ผื่นคันจากอาการแพ้ต่าง ๆ ก้านชูอับเรณูโค้งงอ เกสรเพศผู้ 7 อัน สั้นกว่า ก้านชูอับเรณูตรง หรือ 3 อันลดรูป
ขนาดเล็ก อับเรณูแตกหรือมีรูเปิดที่โคนหรือปลาย ผลรูปทรงกระบอก หรือแบน
รางจืดภูคา แห้งไม่แตก เมล็ดจ�านวนมาก เรียง 1-2 แถว เมล็ดมีก้าน
Thunbergia colpifera B. Hansen สกุล Cassia อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Caesalpinioideae เผ่า Cassieae มีประมาณ
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 1 ม. ล�าต้นเกลี้ยง ใบรูปรีหรือรูปขอบขนาน ยาว 19-28 ซม. 30 ชนิด ในไทยเป็นพืชพื้นเมือง 2-3 ชนิด อนึ่ง สกุลที่เคยอยู่ภายใต้สกุล Cassia
ปลายแหลมยาวหรือยาวคล้ายหาง โคนเรียวสอบ เส้นแขนงใบข้างละ 6-7 เส้น ปัจจุบันได้แยกเป็นสกุลต่างหาก ได้แก่สกุล Senna กลีบดอกขนาดเท่า ๆ กัน
ช่อดอกเป็นกระจุกสั้น ๆ ตามซอกใบ มี 2-4 ดอก ใบประดับรูปใบหอก ยาว เกสรเพศผู้ไม่โค้ง และสกุล Chamaecrista กลีบดอกขนาดไม่เท่ากัน แต่ไม่มี
5-6 มม. ก้านดอกยาวประมาณ 1.5 ซม. ใบประดับย่อยคล้ายกาบหุ้มกลีบเลี้ยง ใบประดับย่อย และผลแห้งแตกขดเป็นวง ชื่อสกุลมาจากภาษากรีกโบราณ
รูปไข่ ยาว 1.5-2.5 ซม. กลีบเลี้ยงจักซี่ฟันตื้น ๆ ไม่เท่ากัน ยาวประมาณ 2 มม. “kasia” หรือ “kassia” ที่ใช้เรียกพืชที่มีกลิ่นหอม
ดอกสีขาว ด้านในมีปื้นสีแดงอมม่วง หลอดกลีบดอกยาว 2.5-2.8 ซม. ด้านในมีขน
และต่อมช่วงโคน กลีบปากรูปกลม ขอบมีขนครุย กลีบบน 2 กลีบ กว้างประมาณ ราชพฤกษ์
5 มม. ยาวประมาณ 7 มม. กลีบล่าง 3 กลีบ รูปรีกว้าง กลีบกลางขนาดใหญ่กว่า Cassia fistula L.
กลีบข้างเล็กน้อย ยาวประมาณ 9 มม. ก้านชูอับเรณูยาว 4-6 มม. มีต่อมหนาแน่น ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบประกอบยาว 30-40 ซม. มีใบย่อย
อับเรณูยาวประมาณ 6 มม. มีรยางค์เป็นขน รังไข่และก้านเกสรเพศเมียเกลี้ยง 3-8 คู่ รูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 7-13 ซม. ปลายแหลม โคนรูปลิ่ม ก้านใบย่อย
ผลฐานกลม เส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 2 ซม จะงอยรูปดาบ ยาว 1.5-2 ซม. ยาว 0.5-1 ซม. ช่อดอกห้อยลง ยาว 20-60 ซม. ใบประดับยาวประมาณ 1 ซม.
ก้านผลยาวได้ถึง 2.3 ซม. ร่วงเร็ว ก้านดอกยาว 3-5 มม. กลีบเลี้ยงรูปไข่แคบ ยาว 1-1.5 ซม. ดอกสีเหลือง
พืชถิ่นเดียวของไทย พบทางภาคเหนือที่ดอยภูคา จังหวัดน่าน ขึ้นตามป่าดิบเขา กลีบรูปไข่กว้าง ยาว 2.5-3.5 ซม. มีก้านสั้น ๆ เกสรเพศผู้อันยาว 3 อัน ก้านชูอับเรณู
ความสูง 1500-1600 เมตร ยาว 3-4 ซม. โค้งงอ อับเรณูยาวประมาณ 5 มม. มีรูเปิดที่โคน อันสั้น 4 อัน
ก้านชูอับเรณูยาว 0.6-1 ซม. ตรง ลดรูป 3 อัน รังไข่และก้านเกสรเพศเมียมีขน
เอกสารอ้างอิง ก�ามะหยี่ ฝักรูปทรงกระบอก ห้อยลง ยาว 20-60 ซม. เส้นผ่านศูนย์กลาง 1.5-2.5 ซม.
Hansen, B. (1995). Notes on SE Asian Acanthaceae 2. Nordic Journal of Botany เมล็ดรูปรี แบน สีน�้าตาลเป็นเงา ยาวประมาณ 1 ซม. มีผนังกั้นบาง ๆ
15(6): 583-585.
Hu, J.Q. and T.F. Daniel. (2011). Acanthaceae (Thunbergia). In Flora of China มีถิ่นก�าเนิดที่อินเดีย ศรีลังกา และชวา เป็นไม้ประดับหรือขึ้นตามป่าเบญจพรรณ
Vol. 19: 377. และป่าเต็งรัง เป็นดอกไม้ประจ�าชาติของไทยตามมติคณะรัฐมนตรีเมื่อวันที่ 2
Staples, G.W. and D.R. Herbst. (2005). A tropical garden flora. Bishop Museum ตุลาคม 2544 และภาพดอกยังเป็นภาพสัญลักษณ์ประจ�าชาติไทย (Nation
Press, Honolulu, Hawai`i.
Identity) ตามมติคณะกรรมการเอกลักษณ์ของชาติ เมื่อวันที่ 27 ธันวาคม 2547
374
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 374 3/1/16 6:11 PM