Page 393 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 393
รัง
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
รักทะเล: ไม้พุ่ม แตกกิ่งหนาแน่น โคนใบสอบเรียวจรดล�าต้น ช่อดอกแบบช่อกระจุก ดอกสมมาตรด้านข้าง แยก รักใหญ่: ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ดอกจ�านวนมาก เกสรเพศผู้จ�านวนมากติดบนฐานดอก กลีบดอกขยายเป็นปีก
จรดโคนด้านเดียว กลีบดอกรูปใบพาย ผลสุกสีขาวครีม กลีบเลี้ยงติดทน (ภาพ: บางเบิด ชุมพร - RP) ในผล (ภาพดอก: วัดจันทร์ เชียงใหม่ - PK; ภาพผล: เชียงใหม่ - SSi)
น�้าเกลี้ยง: G. laccifera ช่อดอกสั้น ผลขนาดใหญ่กว่าแต่ปีกสั้นกว่า (ภาพ: อุบลราชธานี - RP)
รัง
Shorea siamensis Miq.
วงศ์ Dipterocarpaceae
ไม้ต้น ผลัดใบ สูง 10-20 ม. เปลือกหนาแตกเป็นสะเก็ดตามยาว สีเทา หูใบรูปไข่
สแคโวลา: S. aemula ไม้ล้มลุกทอดนอน (ภาพ: cultivated - RP)
ยาว 1-2 ซม. ติดทน ใบรูปไข่หรือแกมรูปขอบขนาน ยาว 6.5-20 ซม. ปลายแหลม
รักใหญ่ หรือมน โคนเว้าลึก แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขนสั้นนุ่ม เส้นแขนงใบข้างละ 12-20 เส้น
Gluta usitata (Wall.) Ding Hou ก้านใบยาว 1.5-4 ซม. ช่อดอกยาว 5-15 ซม. ก้านดอกยาวประมาณ 3 มม. กลีบเลี้ยง
ยาวประมาณ 0.5 มม. มีขนละเอียด ดอกสีขาวครีมหรือเหลืองอ่อน กลีบดอก
วงศ์ Anacardiaceae รูปรี เรียงเวียนพับลง กว้าง 1-1.3 ซม. ยาว 1.5-2 ซม. ด้านนอกมีขนละเอียด
ชื่อพ้อง Melanorrhoea usitata Wall. เกสรเพศผู้ 15 อัน ขนาดไม่เท่ากัน เกลี้ยง รังไข่เกลี้ยง ยอดเกสรเพศเมียจัก 3 พู
ไม้ต้น สูง 5-25 ม. มีขนสั้นหนานุ่มตามกิ่งอ่อน ช่อดอก กลีบเลี้ยงด้านใน ปลายมีขนครุย ผลเกลี้ยง รูปรีเกือบกลม ยาว 1.5-2 ซม. ปลายมีติ่งแหลม ยาว
และกลีบดอกทั้งสองด้าน ใบเรียงเวียน รูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 2-3 มม. ปีกยาว 3 ปีก ยาว 5-9 ซม. ปีกสั้น 2 ปีก ยาว 3-6 ซม. ผลอ่อนปีกสีแดง
12-36 ซม. ปลายมน กลม หรือแหลม แผ่นใบหนา มีขนประปราย เส้นแขนงใบ (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ พะยอม, สกุล)
ข้างละ 15-28 เส้น เส้นแขนงใบย่อยแบบขั้นบันได ก้านใบยาว 1.5-3 ซม. ช่อดอก พบที่พม่า ภูมิภาคอินโดจีนจนถึงทางตอนบนของคาบสมุทรมลายู ในไทยพบ
แบบช่อแยกแขนง ยาวได้ถึง 35 ซม. ดอกจ�านวนมาก ก้านดอกยาวได้ถึง 1 ซม. ทุกภาค ขึ้นตามป่าเต็งรังหรือป่าเต็งรังผสมสนเขา ความสูงถึงประมาณ 1300 เมตร
กลีบเลี้ยงคล้ายหมวกแฉกลึกด้านเดียว ยาวได้ถึง 7 มม. ร่วงเร็ว ดอกสีขาวอมชมพู ทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ พบบนเขาหินปูนหรือโขดหินริมทะเล
มี 5-7 กลีบ รูปขอบขนาน ยาวประมาณ 1 ซม. ขยายในผล ปลายแหลมหรือมน
เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ติดบนฐานดอก (torus) ยาวเท่า ๆ กลีบดอก รังไข่มีช่องเดียว เอกสารอ้างอิง
มีก้านสั้น ๆ ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรมีขนยาว ผลผนังชั้นในแข็ง เส้นผ่านศูนย์กลาง Ashton, P. (1982). Dipterocarpaceae. In Flora Malesiana Vol. 9: 466.
Smitinand, T., J.E. Vidal and P.H. Hô. (1990). Dipterocarpaceae. Flore du
1-3 ซม. ปีกที่ขยายมาจากกลีบดอกรูปขอบขนาน ยาว 5-10 ซม. ปลายปีกมน Cambodge, du Laos et du Vietnam. 25: 94.
มีเส้นกลีบ ก้านผลยาว 1.5-2 ซม. มีเมล็ดเดียว
พบที่อินเดีย พม่า และลาว ในไทยพบทางภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
และภาคตะวันออกเฉียงใต้ ขึ้นตามป่าเต็งรัง ป่าสน หรือป่าดิบแล้ง ความสูงถึง
ประมาณ 1300 เมตร น�้ายาง เรียกว่าน�้ารักหรือยางรัก ใช้ลงพื้นหรือทาเครื่องเรือน
แต่ระคายเคืองต่อผิวหนัง ท�าให้พองเป็นตุ่มน�้าใส เช่นเดียวกับ น�้าเกลี้ยง G. laccifera
(Pierre) Ding Hou ช่อดอกสั้น ผลขนาดใหญ่กว่าแต่ปีกสั้นกว่า พบในภูมิภาคอินโดจีน
ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก ยางรักผสมน�้าผึ้งมี
สรรพคุณแก้โรคผิวหนังที่เกิดจากพยาธิ
สกุล Gluta L. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Anacardioideae เผ่า Anacardieae มีประมาณ
22 ชนิด ส่วนมากพบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในไทยมี 11 ชนิด ชื่อสกุล
มาจากภาษาละติน “gluten” หรือ “glutus” หมายถึงติดแน่นหรือกาว ตามลักษณะ
ของน้ำายาง
เอกสารอ้างอิง รัง: ถิ่นที่อยู่บนโขดหินริมทะเล ช่อดอกแบบช่อแยกแขนง ดอกสีขาวครีมหรือเหลืองอ่อน เรียงเวียนพับลง ผลเกลี้ยง
Chayamarit, K. (2010). Anacardiaceae. In Flora of Thailand Vol. 10(3): 284-292. ผลอ่อนปีกสีแดง (ภาพถิ่นที่อยู่: เกาะช้าง ตราด - MP; ภาพดอก: เขาพระวิหาร ศรีสะเกษ - RP; ภาพผล: ตาก - RP)
373
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 373 3/1/16 6:11 PM