Page 398 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 398
ลังแข
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
สั้นนุ่มทั้งสองด้าน กลีบดอกรูปคุ่ม ยาว 4-5 มม. เส้นกลางกลีบมีขน ปลายกลีบ ลังเค้า
เรียวแคบ เส้าเกสรรูปถ้วย รังไข่มีต่อมกระจาย ก้านเกสรเพศเมียสั้น รูปลิ่มแคบ Commersonia bartramia (L.) Merr.
ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.5-3 ซม. รวมหนาม โคนหนามเป็นปุ่ม ก้านผลยาว 1-3 ซม.
เมล็ดผิวนูน 3 สัน คล้ายรูปสามเหลี่ยม (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ก�ายานเครือ, สกุล) วงศ์ Malvaceae
ชื่อพ้อง Muntingia bartramia L.
พบที่พม่า อินเดีย และภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบทุกภาค ขึ้นกระจายตามชายป่า
ที่โล่ง ความสูงถึงประมาณ 700 เมตร ไม้ต้น สูงได้ถึง 10 ม. มีขนสั้นนุ่มและขนกระจุกหนาแน่นตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง
ก้านใบ ช่อดอก กลีบเลี้ยง และตามขนแข็งที่ผล ใบเรียงเวียน รูปไข่ ยาว 8-10 ซม.
เอกสารอ้างอิง ปลายแหลมหรือยาวคล้ายหาง โคนรูปหัวใจ เบี้ยว ขอบจักซี่ฟันตื้น ๆ ก้านใบยาว
Phengklai, C. (2001). Sterculiaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 545. 0.5-1 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง 2 ง่าม หลายครั้ง ยาวได้ถึง 10 ซม.
ดอกสีขาว กลีบเลี้ยง 5 กลีบ รูปสามเหลี่ยม ยาวประมาณ 3 มม. กลีบดอก 5 กลีบ
โคนแผ่กว้าง สองข้างเว้าเป็นติ่ง ปลายเรียวแคบ ยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง เกสรเพศผู้ที่
สมบูรณ์และที่เป็นหมันเชื่อมติดกัน อันที่สมบูรณ์ 5 อัน ติดตรงข้ามกลีบดอก ยาว
ประมาณ 0.5 มม. มีโคนกลีบดอกหุ้ม อับเรณูกลม หันออก อันที่เป็นหมัน 5 อัน
ติดตรงข้ามกลีบเลี้ยง รูปแถบ ยาวประมาณ 1.5 มม. มีขนประปราย รังไข่มี 5 ช่อง
มีขนยาว แต่ละช่องมีออวุล 2 เม็ด ก้านเกสรเพศเมีย 5 อัน สั้น ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง
ประมาณ 2 ซม. มีขนแข็งยาวหนาแน่น ก้านผลยาวประมาณ 1 ซม.
พบที่จีนตอนใต้ พม่า เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ และออสเตรเลีย
ในไทยพบทางภาคใต้ตั้งแต่สุราษฎร์ธานีลงไป ขึ้นตามชายป่าดิบแล้งและป่าดิบชื้น
ความสูงไม่เกิน 100 เมตร
สกุล Commersonia J. R. Forst. & G. Forst. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Byttnerioideae
มี 9 ชนิด พบเฉพาะในเอเชียและออสเตรเลีย ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลตั้งตาม
ละหุ่งเครือ: ใบมี 3-5 พู พูกลางปลายยาวคล้ายหาง ขอบจักซี่ฟันหรือจักฟันเลื่อยสองชั้น กลีบดอกรูปคุ่ม ผลมีหนาม นักพฤกษศาสตร์ชาวฝรั่งเศส Philibert Commerson (1727-1773)
โคนหนามเป็นปุ่ม (ภาพช่อดอก: อุบลราชธานี, ภาพผล: แก่งกระจาน เพชรบุรี; - PK)
เอกสารอ้างอิง
ลังแข Phengklai, C. (2001). Sterculiaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 550-552.
Baccaurea macrocarpa (Miq.) Müll. Arg. Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Sterculiaceae. In Flora of China
Vol. 12: 323.
วงศ์ Phyllanthaceae
ชื่อพ้อง Pierardia macrocarpa Miq.
ไม้ต้น สูงได้ถึง 25 ม. หูใบรูปสามเหลี่ยม ยาว 2-9 มม. ใบรูปรีถึงรูปใบหอก
หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 7-37 ซม. แผ่นใบด้านล่างมีขนประปรายตามเส้นใบ
ก้านใบยาวได้ถึง 14 ซม. ช่อดอกเพศผู้ออกเป็นกระจุก 1-3 ช่อ ยาวได้ถึง 13 ซม.
ใบประดับขนาดเล็ก ก้านดอกยาว 1-2 มม. ดอกกระจายตลอดความยาวช่อ ดอกบาน
เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-2 มม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ ช่อดอกเพศเมียออกเป็นกระจุก
1-3 ช่อ ยาวได้ถึง 18 ซม. ก้านดอกยาว 3-7.5 มม. ดอกเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-4.5 มม.
กลีบเลี้ยง 4-6 กลีบ ก้านเกสรเพศเมียยาว 0.5-1.5 มม. ยอดเกสรแยก 2 แฉก
ยาว 0.5-1 มม. ผลเส้นผ่านศูนย์กลางยาวได้ถึง 8 ซม. สีน�้าตาลเหลืองหรือแดง ลังเค้า: มีขนสั้นนุ่มหนาแน่นทั่วไป ขอบใบจักซี่ฟันตื้น ๆ โคนใบเบี้ยว ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง 2 ง่าม
อมเขียว ด้านนอกมีขนละเอียดประปราย ด้านในมีขนหนาแน่นหรือเกือบเกลี้ยง หลายครั้ง มีขนแข็งยาวหนาแน่น (ภาพ: เขาส�านัก นราธิวาส - RP)
เมล็ดมีเยื่อหุ้มสีขาวหรือเหลืองอมส้ม (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ มะไฟ, สกุล) ลานพรุ
พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และบอร์เนียว ในไทยพบทางภาคใต้ตอนล่าง
ที่แว้ง จังหวัดนราธิวาส ขึ้นตามป่าพรุหรือป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 1600 เมตร Corypha utan Lam.
บางครั้งพบปลูกเป็นไม้ผล เยื่อหุ้มเมล็ดรสเปรี้ยวอมหวาน วงศ์ Arecaceae
เอกสารอ้างอิง ปาล์มต้นเดี่ยว ออกดอกแล้วตาย ล�าต้นสูงได้ถึง 15 ม. เส้นผ่านศูนย์กลาง
Haegens, R.M.A.P. and P.C. van Welzen. (2007). Euphorbiaceae (Baccaurea). 0.8-1 ม. กาบใบแยกจรดโคน ใบรูปพัดเรียงเวียน เส้นผ่านศูนย์กลาง 2.4-3 ม.
In Flora of Thailand Vol. 8(2): 111. ใบแยก 80-100 แฉก แฉกลึกเกินกึ่งหนึ่งหรือเกือบจรดเส้นกลางใบ เส้นกลางใบโค้ง
ก้านใบยาว 2.5-4 ม. แกนก้านเป็นร่องลึก ขอบมีหนามสีด�ายาวประมาณ 2 ซม.
ปลายก้านจุดเชื่อมติดใบ (hastula) มีขอบหนาชัดเจนทั้งสองด้าน ช่อดอกออกที่ยอด
สูงได้ถึง 5 ม. แยกแขนงจ�านวนมาก ใบประดับคล้ายใบ ใบประดับช่อแยกแขนงแรก
มี 2 สัน ใบประดับช่อแขนงเป็นหลอด ช่อย่อยแบบช่อวงแถวเดี่ยว ดอกสมบูรณ์เพศ
มีก้านดอกเทียมสั้น กลีบเลี้ยงและกลีบดอกอย่างละ 3 กลีบ เกสรเพศผู้ 6 อัน
รังไข่มี 3 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 2-3 ซม. ผนังผล
ชั้นกลางสด มีเมล็ดเดียว
พบที่อินเดียรวมหมู่เกาะอันดามันและนิโคบาร์ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและ
มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ นิวกินี และออสเตรเลียตอนบน ในไทยพบทางภาคใต้ ขึ้นตาม
ที่โล่งใกล้ชายฝั่งทะเล ความสูงถึงประมาณ 300 เมตร ส่วนต่าง ๆ ใช้ประโยชน์
เช่นเดียวกับตาลหรือมะพร้าว เนื้อในเมล็ดกินได้ รากแก้ท้องเสีย แก้ไอและไข้หวัด
สกุล Corypha L. อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Coryphoideae มี 5 ชนิด ในไทยมี 2 ชนิด
ลังแข: ช่อผลออกตามกิ่งและล�าต้น มีขนละเอียดประปราย (ภาพ: บ้านจุฬาภรณ์ 7 ยะลา - RP) อีกชนิดคือ ลานป่า C. lecomtei Becc. ex Lecomte พบเฉพาะในภูมิภาคอินโดจีน
378
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 378 3/1/16 6:13 PM