Page 401 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 401

กระจาย ไม่มีกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสีขาว ยาว 2.5-3.5 ซม. ผลกว้าง 3.5-6 ซม.   สารานุกรมพืชในประเทศไทย  ล�าแพนหิน
                    สูง 2.5-3.5 ซม. ผิวเป็นมันวาว จานรูปถ้วยเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.8-4 ซม. รวม
                    กลีบเลี้ยง กลีบเลี้ยงแนบชิดผล
                       พบที่ไห่หนาน กัมพูชา ภูมิภาคมาเลเซีย และนิวกินี ในไทยพบทางภาคกลาง
                    ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ตามป่าชายเลนด้านใน ริมแม่น�้าที่มีน�้าทะเลขึ้นลง
                      เอกสารอ้างอิง
                       Qin, H., S.A. Graham and M.G. Gilbert. (2007). Lythraceae. In Flora of China
                          Vol. 13: 286-288.
                       Santisuk, T. (1992). Sonneratiaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(4): 436-441.  ล�าพูป่า: ใบเรียงตรงข้าม โคนเว้าตื้น ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่นออกสั้น ๆ ที่ปลายกิ่ง กลีบดอกย่น เกสรเพศผู้จ�านวนมาก
                                                                        ผลแห้งแตก กลีบเลี้ยงติดทน (ภาพดอก: ดอยภูคา น่าน, ภาพผล: กาญจนบุรี; - RP)
                                                                        ลำาแพน
                                                                        Sonneratia alba Sm.
                                                                        วงศ์ Lythraceae
                                                                           ไม้ต้น สูงได้ถึง 15 ม. รากหายใจยาว 20-40 ซม. โคนหนา ใบรูปไข่หรือรูปไข่กลับ
                                                                        กว้าง ยาว 4-11 ซม. ปลายกลม โคนรูปลิ่ม มน หรือตัด ก้านใบยาว 3-9 มม.
                                                                        ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุก 2-5 ดอก ออกที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงและกลีบดอก
                                                                        จ�านวนอย่างละ 5-8 กลีบ กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม ยาว 2-3.4 ซม. ปลายแหลม
                      ล�าพู: ใบเรียงตรงข้าม กลีบดอกสีแดงเข้ม รูปแถบ เกสรเพศผู้จ�านวนมาก ผลกลมแป้น ผิวเป็นมันวาว ฐานรูปถ้วย  ด้านในมักมีสีชมพูหรือแดง ดอกสีขาว กลีบรูปเส้นด้าย ดูคล้ายก้านชูอับเรณู
                    แผ่กว้าง ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ติดทน (ภาพ: จันทบุรี - PK)
                                                                        ก้านชูอับเรณูสีขาว ยาว 3-4 ซม. ผลกว้าง 3-5 ซม. สูง 2.5-4 ซม. ผิวเป็นมันวาว
                                                                        ฐานรูปถ้วยหุ้มผลประมาณหนึ่งในสามส่วน เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-4 ซม. รวมกลีบเลี้ยง
                                                                        ปลายกลีบเลี้ยงพับงอกลับ (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ล�าพู, สกุล)
                                                                           พบที่แอฟริกา มาดากัสการ์ อินเดีย หมู่เกาะอันดามัน บังกลาเทศ ศรีลังกา
                                                                        ไห่หนาน ญี่ปุ่น เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทย
                                                                        พบทางภาคกลาง ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นหนาแน่นเป็นผืนใหญ่
                                                                        ตามป่าชายเลนจรดทะเลด้านนอก และริมแม่น�้าที่มีน�้าทะเลขึ้นลง

                                                                        ลำาแพนหิน
                                                                        Sonneratia griffithii Kurz
                                                                           ไม้ต้น ผลัดใบ สูงได้ถึง 30 ม. ต้นขนาดใหญ่โคนต้นมักเป็นโพรง รากหายใจ
                                                                        ยาว 30-40 ซม. ปลายรากบวมหรือคล้ายรูปหอย ใบรูปไข่กว้างถึงเกือบกลม ยาว
                                                                        5-8 ซม. ปลายกลมหรือมนกว้าง โคนกลม ก้านใบยาว 3-8 มม. ดอกออกเดี่ยว ๆ
                      ล�าพูทะเล: ใบเรียงตรงข้าม ปลายกลม โคนตัดหรือกลม ไม่มีกลีบดอก ก้านชูอับเรณูสีขาว ผลกลมแป้น ผิวเป็นมันวาว   หรือเป็นกระจุก 2-5 ดอก ออกที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ
                    กลีบเลี้ยงแนบชิดผล (ภาพ: จันทบุรี - PK)
                                                                        6-7 กลีบ หลอดกลีบเลี้ยงรูปถ้วย กลีบหนา รูปสามเหลี่ยม ยาว 1.4-2 ซม. ไม่มี
                    ลำาพูป่า                                            กลีบดอก ก้านชูอับเรณูสีขาว ยาว 3-4 ซม. ผลกลมแป้น ผิวด้าน กว้าง 3.5-5.2 ซม.
                    Duabanga grandiflora (Roxb. ex DC.) Walp.           สูง 2-3 ซม. จานรูปถ้วยแผ่กว้าง เส้นผ่านศูนย์กลาง 5-7 ซม. รวมกลีบเลี้ยง
                                                                        ปลายกลีบพับงอกลับเล็กน้อย (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ล�าพู, สกุล)
                    วงศ์ Lythraceae                                        พบที่บังกลาเทศ หมู่เกาะอันดามันของอินเดีย พม่า คาบสมุทรมลายู ในไทย
                      ชื่อพ้อง Lagerstroemia grandiflora Roxb. ex DC.   พบทางภาคใต้ที่ฝั่งทะเลอันดามัน ขึ้นตามป่าชายเลนด้านใน ริมแม่น�้าที่มีน�้าทะเลขึ้นลง
                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 35 ม. โคนต้นมีพูพอน กิ่งอ่อนเป็นเหลี่ยม ใบเรียงตรงข้าม
                    รูปขอบขนานหรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 10-24 ซม. ปลายแหลมยาว โคนกลมหรือเว้าตื้น   เอกสารอ้างอิง
                    แผ่นใบด้านล่างมีนวล ก้านใบยาวได้ถึง 1 ซม. ช่อดอกแบบช่อเชิงหลั่น ออกสั้น ๆ   Qin, H., S.A. Graham and M.G. Gilbert. (2007). Lythraceae. In Flora of China
                                                                              Vol. 13: 288.
                    ที่ปลายกิ่ง ก้านดอกยาว 3-4 ซม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 6-7 กลีบ   Santisuk, T. (1992). Sonneratiaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(4): 440.
                    หลอดกลีบเลี้ยงรูปถ้วย กลีบรูปสามเหลี่ยมแกมรูปไข่กลับ ยาว 1-3 ซม. บานออก
                    ดอกสีขาว มีกลิ่นแรง กลีบรูปรี ยาว 4 ซม. ย่น ก้านกลีบยาว 2-4 มม. เกสรเพศผู้
                    จ�านวนมาก เรียง 2 วง อับเรณูติดไหว โค้ง รังไข่กึ่งใต้วงกลีบ ออวุลจ�านวนมาก
                    ผลแห้งแตกเป็น 6-9 ซีก รูปไข่กว้างเกือบกลม กว้าง 4-4.5 ซม. ยาว 3-4 ซม.
                    กลีบเลี้ยงติดทน เมล็ดจ�านวนมาก รูปแถบ ยาว 4-6 มม. มี 2 หาง รูปเส้นด้าย
                       พบที่อินเดีย พม่า จีนตอนใต้ ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ในไทยพบทุกภาค
                    ขึ้นตามชายป่า ที่โล่ง ตามหุบเขา ริมล�าธาร หรือที่ชุ่มชื้น ความสูงถึงประมาณ
                    1200 เมตร เนื้อไม้ใช้ท�ากล่อง ไม้พาย เรือแคนู และก้านร่ม เปลือกมีพิษใช้เบื่อปลา

                       สกุล Duabanga Buch.-Ham. เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Sonneratiaceae มี 3 ชนิด พบ
                       ในเอเชียเขตร้อน ในไทยมีชนิดเดียว ชื่อสกุลเป็นภาษาเบงกาลี “duyabanga” ที่
                       ใช้เรียกลำาพูป่า
                      เอกสารอ้างอิง
                       Qin, H., S.A. Graham and M.G. Gilbert. (2007). Lythraceae. In Flora of China
                          Vol. 13: 276.                                   ล�าแพน: ขึ้นหนาแน่นเป็นผืนใหญ่ตามริมแม่น�้าที่มีน�้าทะเลขึ้นลง ปลายใบกลม ฐานรูปถ้วยหุ้มผลประมาณหนึ่งใน
                       Santisuk, T. (1992). Sonneratiaceae. In Flora of Thailand Vol. 5(4): 434-435.  สามส่วน ปลายกลีบเลี้ยงพับงอกลับ (ภาพถิ่นที่อยู่และผล: กันตัง ตรัง, ภาพดอก: ขนอม นครศรีธรรมราช; - SR)

                                                                                                                    381






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   381                                                                 3/1/16   6:14 PM
   396   397   398   399   400   401   402   403   404   405   406