Page 404 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 404

ลูกหัวนก
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                หรือเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ รูปรีกว้าง หรือรูปขอบขนาน เส้นผ่านศูนย์กลาง 1-2.5 ซม.   เล็บนาง
                สุกสีเหลืองหรือแดงอมส้ม เกลี้ยงหรือมีขน ไร้ก้านหรือมีก้านสั้นมาก โคนมีใบประดับ   Aegiceras corniculatum (L.) Blanco
                2-3 ใบ รูปครึ่งวงกลม ยาว 0.5-3 มม. ติดทน รูเปิดกว้าง 2-3 มม. ขอบมีรอยจัก   วงศ์ Primulaceae
                มีใบประดับ 3 ใบ หนา (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ ไทร, สกุล)
                                                                      ชื่อพ้อง Rhizophora corniculata L.
                   พบที่ศรีลังกา อินเดีย เนปาล ภูฏาน จีนตอนใต้ พม่า ภูมิภาคอินโดจีนและ
                                                                       ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 4 ม. แตกกิ่งหนาแน่น ใบเรียงเวียน รูปรีหรือรูปไข่กลับ ยาว
                มาเลเซีย ฟิลิปปินส์ นิวกินี หมู่เกาะโซโลมอน และออสเตรเลีย ในไทยพบทุกภาค   3-10 ซม. ปลายกลมหรือเว้าตื้น โคนรูปลิ่ม แผ่นใบมีรูขนาดเล็กกระจาย ก้านใบยาว
                ขึ้นตามป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร   0.5-1 ซม. ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม ออกตรงข้ามหรือตามซอกใบ ไร้ก้านหรือก้านช่อ
                อยู่ภายใต้ สกุลย่อย Urostigma
                                                                     สั้นมาก ใบประดับขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ก้านดอกยาวประมาณ 1 ซม. กลีบเลี้ยง 5 กลีบ
                                                                     แยกจรดโคน หนา รูปรี ปลายกลม ยาว 5-6 มม. บิดเวียนด้านซ้าย ติดทน โคนมีต่อม
                  เอกสารอ้างอิง
                   Berg, C.C., N. Pattharahirantricin and B. Chantarasuwan. (2011). Moraceae in   สีด�า ดอกรูประฆัง สีขาว หลอดกลีบดอกยาว 3-4 มม. ด้านในมีขนยาว มี 5 กลีบ
                      Flora of Thailand Vol. 10(4): 618-619.         เรียงเวียนทับด้านขวาในตาดอก รูปขอบขนานแกมรูปไข่ ยาว 5-6.5 มม. พับงอกลับ
                   Wu, Z., Z.K. Zhou and M.G. Gilbert. (2003). Moraceae. In Flora of China Vol. 5: 42.  เกสรเพศผู้ 5 อัน ติดใกล้โคนหลอดกลีบดอก ก้านชูอับเรณูยาว 6-9 มม. โคนด้านนอก
                                                                     มีขนยาว ยื่นพ้นปากหลอดกลีบ อับเรณูติดด้านหลัง ผนังกั้นตามขวาง รังไข่รูปกระสวย
                                                                     เรียวเป็นก้านเกสรเพศเมีย ยาว 6-8 มม. โคนมีต่อมสีด�า รังไข่มีช่องเดียว ออวุล
                                                                     จ�านวนมาก พลาเซนตารอบแกนรูปกลม ผลแห้งแตก โค้งงอคล้ายเขา ยาว 5-8 ซม.
                                                                       พบที่อินเดีย ศรีลังกา จีนตอนใต้รวมไห่หนาน เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย และ
                                                                     ออสเตรเลีย ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ เป็นไม้ในป่าโกงกาง

                                                                       สกุล Aegiceras Gaertn. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Myrsinaceae มีเพียง 2 ชนิด อีกชนิด
                                                                       คือ A. floridum Roem. & Schult. พบที่เวียดนามตอนใต้ ภูมิภาคมาเลเซีย และ
                                                                       ฟิลิปปินส์ ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “aigos” แพะ และ “keras” เขา ตามลักษณะผล
                  ลุงขน: ฐานดอกที่ขยายใหญ่และอวบน�้า ออกเป็นคู่หรือเดี่ยว ๆ ตามซอกใบ รูปขอบขนาน ไร้ก้าน สุกสีเหลืองหรือ  เอกสารอ้างอิง
                แดงอมส้ม (ภาพ: ปากแม่น�้าสงคราม นครพนม - RP)
                                                                       Chen, J. and J.J. Pipoly. (1996). Myrsinaceae. In Flora of China Vol. 15: 9.
                ลูกหัวนก                                               Larsen, K. (1996). Myrsinaceae. In Flora of Thailand Vol. 6(2): 176-178.

                Diospyros confertiflora (Hiern) Bakh.
                วงศ์ Ebenaceae
                  ชื่อพ้อง Maba confertiflora Hiern
                   ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. ใบรูปขอบขนานหรือรูปรี ยาว 4-11 ซม. ปลายแหลมยาว
                โคนเบี้ยว แผ่นใบเกลี้ยง เส้นแขนงใบข้างละ 8-10 เส้น เรียงจรดกันใกล้ขอบใบ
                ก้านใบยาว 3-5 มม. ดอกเพศผู้เกือบไร้ก้าน ออกเป็นช่อกระจุกสั้น ๆ มี 3-12 ดอก
                กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 3 กลีบ กลีบเลี้ยงรูประฆัง ปลายแฉกลึก
                เกือบจรดโคน ยาว 2-3 มม. ด้านนอกมีขน ดอกรูปคนโท ยาว 4-7 มม. กลีบแฉกลึก
                ประมาณกึ่งหนึ่ง ด้านนอกมีขนคล้ายขนแกะ เกสรเพศผู้ 9-12 อัน รังไข่ที่ไม่เจริญ
                เกลี้ยง ดอกเพศเมียก้านดอกยาว 1-2 มม. มีขนสั้นนุ่ม รังไข่มี 6 ช่อง เกสรเพศผู้
                ที่เป็นหมันมี 3-6 อัน เกลี้ยง ผลรูปรี เบี้ยว ปลายเป็นติ่งแหลม ยาว 2-2.5 ซม.
                กลีบเลี้ยงแยกจรดโคน พับงอกลับ ก้านผลยาวประมาณ 3 มม. เอนโดสเปิร์มเรียบ
                (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ มะเกลือ, สกุล)
                                                                      เล็บนาง: ปลายใบกลมหรือเว้าตื้น ช่อดอกแบบช่อซี่ร่ม กลีบเลี้ยงบิดเวียนด้านซ้าย ติดทน กลีบดอกเรียงเวียนทับ
                   พบที่คาบสมุทรมลายู สุมาตรา และบอร์เนียว ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทาง  ด้านขวาในตาดอก ดอกบานพับงอกลับ (ภาพดอก: ตะรุเตา สตูล - PK; ภาพผล: ขนอม นครศรีธรรมราช - SR)
                ภาคใต้ตอนล่างที่สงขลา นราธิวาส ขึ้นตามป่าดิบชื้น ความสูงถึงประมาณ 400 เมตร
                                                                     แลนบาน
                  เอกสารอ้างอิง
                   Ng, Francis S.P. (2002). Ebenaceae. In Tree Flora of Sabah and Sarawak. Vol.   Canarium denticulatum Blume
                      4: 49-50.                                      วงศ์ Burseraceae
                   Phengklai, C. (1981). Ebenaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(4): 292.
                                                                       ไม้ต้น สูงได้ถึง 40 ม. เปลือกแตกเป็นแผ่นบางขนาดใหญ่ มียางใส หูใบจักซี่หวี
                                                                     ห่าง ๆ ติดทน ใบประกอบ มีใบย่อย 2-6 คู่ ยาวได้ถึง 45 ซม. ใบรูปไข่หรือแกม
                                                                     รูปขอบขนาน ยาว 8-20 ซม. ปลายแหลมยาว โคนเบี้ยว ขอบเรียบหรือจักไม่ชัดเจน
                                                                     แผ่นใบเกลี้ยงหรือมีขนประปรายตามเส้นแขนงใบด้านล่าง เส้นแขนงใบข้างละ
                                                                     10-16 เส้น ช่อดอกเพศผู้ยาว 15-25 ซม. ช่อดอกเพศเมียยาว 6-13 ซม. ก้านดอก
                                                                     ยาวประมาณ 3 มม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 3 กลีบ กลีบเลี้ยงยาว
                                                                     3-4 มม. ในดอกเพศเมียยาวกว่าเล็กน้อย ขยายในผล ดอกสีครีม กลีบยาวประมาณ
                                                                     5 มม. ในดอกเพศเมียยาวประมาณ 7 มม. เกสรเพศผู้ติดบนจานฐานดอก จานฐานดอก
                                                                     พัฒนาชัดเจนในดอกเพศเมีย ผลรูปรี เกลี้ยง ยาว 2.5-3 ซม. สุกสีด�า ไพรีนรูปรีแกม
                                                                     สามเหลี่ยม เปลือกแข็ง มี 1-2 ช่องที่พัฒนา (ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ มะกอกเกลื้อน, สกุล)
                                                                       พบที่พม่า คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว สุมาตรา ชวา ฟิลิปปินส์ และภาคใต้ของไทย
                                                                     ขึ้นตามป่าดิบชื้น ส่วนมากพบที่ความสูง 100-200 เมตร
                                                                      เอกสารอ้างอิง
                  ลูกหัวนก: ใบเดี่ยวเรียงสลับระนาบเดียว โคนเบี้ยว แผ่นใบเกลี้ยง ผลรูปรี เบี้ยว ปลายเป็นติ่งแหลม กลีบเลี้ยงแยก  Pooma, R. (1999). A preliminary account of Burseraceae in Thailand. Thai Forest
                จรดโคน พับงอกลับ (ภาพ: สุคิริน นราธิวาส - RP)             Bulletin (Botany) 27: 64.

                384






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   384                                                                 3/1/16   6:15 PM
   399   400   401   402   403   404   405   406   407   408   409