Page 406 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 406

ว่านกะบุกหิน
                                    สารานุกรมพืชในประเทศไทย

                                                                     ว่านกีบแรด
                                                                     Angiopteris evecta (G. Forst.) Hoffm.
                                                                     วงศ์ Marattiaceae
                                                                      ชื่อพ้อง Polypodium evectum G. Forst.
                                                                       เฟินขึ้นบนพื้นดิน เหง้าสั้นตั้งตรงขนาดใหญ่ ใบประกอบ 2 ชั้น ยาว 2-5 ม.
                                                                     ก้านใบยาว 1-1.5 ม. โคนก้านบวม มีหูใบสีน�้าตาลขนาดใหญ่ 1 คู่ ก้านใบและ
                  โลดทะนงใบขน: มีขนยาวหนาแน่นตามกิ่ง ใบ ช่อดอก ใบประดับ และผล ดอกสีแดงเลือดนก ดอกเพศผู้ก้านดอกสั้น   แกนใบประกอบมีรอยขีดสีขาวสั้น ๆ มีขนและเกล็ดสีน�้าตาลประปราย แผ่นใบกว้าง
                ผลบางครั้งติดที่ปลายช่อ (ภาพดอก: น�้าตกกะเปาะ ชุมพร, ภาพผล: หนองคาย; - RP)
                                                                     ได้ถึง 2 ม. ยาว 2-3 ม. ใบประกอบย่อยกว้าง 18-30 ซม. ยาว 15-80 ซม. ใบย่อย
                                                                     มี 15-30 คู่ โคนแกนใบประกอบบวม ใบย่อยรูปขอบขนานหรือรูปใบหอก กว้าง
                                                                     1.5-4.5 ซม. ยาว 11-25 ซม. ปลายใบเรียวแหลม โคนใบมนหรือเว้าตื้น เบี้ยว
                                                                     ขอบใบจักมนหรือจักฟันเลื่อย ก้านใบย่อยบวม ยาว 3-8 มม. แผ่นใบหนา มีเกล็ด
                                                                     สีน�้าตาล เส้นแขนงใบแยกสาขาเป็นคู่ กลุ่มอับสปอร์อยู่ห่างจากขอบใบประมาณ
                                                                     1 มม. สีน�้าตาล รูปรี มี 7-12 อับสปอร์ผนังเชื่อมติดกัน (eusporangium) ไม่มี
                                                                     เยื่อคลุมกลุ่มอับสปอร์
                                                                       พบที่ไต้หวัน ภูมิภาคอินโดจีนและมาเลเซีย ฟิลิปปินส์ นิวกินี ออสเตรเลีย และ
                  โลดทะนงเหลือง: ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง แกนช่อเป็นเหลี่ยม ดอกสีเหลือง ผลผิวมีตุ่ม
                คล้ายหนาม (ภาพ: น�้าตกพาเจริญ ตาก - RP)              หมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทุกภาค ขึ้นตามที่ชุ่มชื้น ความสูงถึงประมาณ 1200 เมตร
                                                                     เหง้ามีสรรพคุณต้านเชื้อแบคทีเรีย เชื้อรา ระงับปวด และมีฤทธิ์ต้านอนุมูลอิสระ
                ว่านกะบุกหิน
                Arisaema fimbriatum Mast.                              สกุล Angiopteris Hoffm. เคยอยู่ภายใต้วงศ์ Dryopteridaceae หรือ Woodsiaceae
                                                                       มี 30-40 ชนิด พบที่มาดากัสการ์ เอเชียเขตร้อน และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมี
                วงศ์ Araceae                                           2 ชนิด อีกชนิดคือ A. angustifolia C. Presl พบที่นราธิวาส เป็นกลุ่มเฟินที่มีการ
                   ไม้ล้มลุกทิ้งใบ มีหัวใต้ดิน เส้นผ่านศูนย์กลาง 3-5 ซม. ล�าต้นสูง 25-30 ซม.   เก็บตัวอย่างน้อยเนื่องจากมีขนาดใหญ่ หรือได้ตัวอย่างที่ไม่สมบูรณ์
                ล�าต้น ก้านใบ ก้านช่อดอก และกาบ สีเขียวอ่อนอมชมพูหรือม่วงอมแดง มีปื้น
                สีขาวแซม ใบประกอบมี 3 ใบย่อย มี 1-2 ใบ ก้านยาว 20-25 ซม. ใบย่อยรูปไข่   เอกสารอ้างอิง
                                                                       Lindsay, S. and D.J. Middleton. (2012 onwards). Ferns of Thailand, Laos and
                ยาว 20-25 ซม. ปลายแหลมยาว ก้านใบสั้นหรือยาวประมาณ 5 มม. ช่อดอกแบบ  Cambodia. http://rbg-web2.rbge.org.uk/thaiferns/
                ช่อเชิงลดมีกาบ ก้านช่อยาว 20-30 ซม. ช่วงโคนเป็นหลอดกาบรูปทรงกระบอก   Tagawa, M. and K. Iwatsuki. (1979). Marattiaceae. In Flora of Thailand 3(1): 41.
                ยาว 6-7 ซม. กาบรูปใบหอกแกมรูปไข่ ยาว 7-10 ซม. ปลายแหลมยาว พับงอกลับ   Zhaorong, H. and M.J.M. Christenhusz. (2013). Marattiaceae. In Flora of China
                ช่อดอกรูปทรงกระบอก ยาว 8-15 ซม. ยื่นเลยกาบ ไร้ก้านช่อ ปลายมีรยางค์เรียวยาว  Vol. 2-3: 82, 86.
                คล้ายหางสีม่วงอมแดง ห้อยลง มีขนแข็งยาว ช่วงดอกเพศผู้หรือดอกสมบูรณ์เพศ
                ยาว 2-3 ซม. ดอกเพศผู้เรียงห่าง ๆ กลุ่มละ 2-4 ดอก ก้านชูอับเรณูสั้นมาก เชื่อมติดกัน
                ดอกเพศเมีย รังไข่รูปขวด ก้านเกสรเพศเมียสั้น ยอดเกสรคล้ายแปรง ติดทน ผลสด
                รูปคล้ายปริซึม ยาวประมาณ 1 ซม. สุกสีแดง มี 4 เมล็ด
                   พบที่คาบสมุทรมลายู และภาคใต้ของไทย ที่กระบี่ พังงา ตรัง สงขลา ขึ้นตาม
                ป่าดิบชื้นที่เป็นหินปูน ความสูง 100-300 เมตร แยกเป็น subsp. bakerianum
                (Engl.) Gusman ใบประกอบส่วนมากมีใบเดียว หลอดกาบสีเขียวอ่อน กาบสี
                แดงอมม่วง ไม่มีปื้นขาวแซม เป็นพืชถิ่นเดียวของไทย พบที่กระบี่ พังงา ขึ้นบน
                เขาหินปูนตามเกาะ

                   สกุล Arisaema Mart. มีประมาณ 200 ชนิด พบในเขตร้อนและกึ่งเขตร้อน ในไทย
                   มี 18 ชนิด อนึ่ง สกุล Arisaema มีทั้งแยกเพศร่วมต้นหรือต่างต้นที่มีการเปลี่ยนเพศ
                   ไปมาในแต่ละปี (paradioecious) ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “aris” หรือ “aron”
                   พืชสกุล Arum และ “haima” เลือด เนื่องจากมีความสัมพันธ์ใกล้ชิดกับสกุล Arum
                                                                      ว่านกีบแรด: เฟินขนาดใหญ่ ชอบขึ้นริมน�้า โคนก้านใบประกอบและก้านใบย่อยบวม กลุ่มอับสปอร์เรียงใกล้ขอบใบ
                  เอกสารอ้างอิง                                      (ภาพ: แก่งกระจาน เพชรบุรี - PK)
                   Gusman, G. (2012). Araceae (Arisaema). In Flora of Thailand Vol. 11(2): 199-212.
                                                                     ว่านไก่แดง, สกุล
                                                                     Aeschynanthus Jack
                                                                     วงศ์ Gesneriaceae
                                                                       ไม้พุ่มหรือไม้เถา อิงอาศัย ใบเรียงตรงข้ามหรือเรียงรอบข้อ แผ่นใบหนา
                                                                     เส้นแขนงใบไม่ชัดเจน ช่อดอกแบบช่อกระจุกคล้ายช่อซี่ร่ม ออกตามซอกใบ
                                                                     หรือปลายกิ่ง ใบประดับ 1 คู่ กลีบเลี้ยง 5 กลีบ กลีบดอกสมมาตรด้านข้าง กลีบบน
                                                                     2 กลีบ กลีบล่าง 3 กลีบ กลีบกลางมักยาวกว่ากลีบคู่ข้างเล็กน้อย เกสรเพศผู้ 4 อัน
                                                                     ติดเหนือกึ่งกลางหลอดกลีบดอก คู่หลังสั้นกว่าคู่หน้าเล็กน้อย ยื่นพ้นปากหลอด
                                                                     กลีบดอก อับเรณูติดที่โคน แตกตามยาว มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 1 อันหรือไม่มี
                                                                     จานฐานดอกรูปวงแหวน รังไข่มี 1 ช่อง พลาเซนตาเรียง 2 แถวตามแนวตะเข็บ
                                                                     ยอดเกสรเพศเมียเป็นตุ่มหรือรูปโล่ ผลแห้งแตก รูปแถบ เมล็ดขนาดเล็ก จ�านวนมาก
                                                                     ปลายมีรยางค์เป็นขน

                                                                       สกุล Aeschynanthus มีประมาณ 140 ชนิด พบในอเมริกาและเอเชีย หมู่เกาะ
                  ว่านกะบุกหิน: ใบประกอบมี 3 ใบย่อย โคนเป็นหลอดกาบรูปทรงกระบอก กาบพับงอกลับ ปลายช่อมีรยางค์เรียวยาว  แปซิฟิก ในไทยมี 20 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “aischyno” น่าอาย และ
                คล้ายหางสีม่วงอมแดง ห้อยลง มีขนแข็งยาวปกคลุม ผลสดรูปคล้ายปริซึม (ภาพ: ถ�้าอิโส ตรัง - RP)  “anthos” ดอก ตามลักษณะดอก

                386






        59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd   386                                                                 3/1/16   6:16 PM
   401   402   403   404   405   406   407   408   409   410   411