Page 405 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 405
โลดทะนงเหลือง
สารานุกรมพืชในประเทศไทย
พบที่พม่า เวียดนาม คาบสมุทรมลายู บอร์เนียว สุมาตรา และฟิลิปปินส์ ในไทย
พบทางภาคใต้ที่ระนอง สุราษฎร์ธานี นครศรีธรรมราช นราธิวาส สตูล ขึ้นใต้ร่มเงา
ในป่าดิบชื้น และป่าดิบเขา ความสูงถึงประมาณ 1300 เมตร
โลดทะนงใบขน
Trigonostemon flavidus Gagnep.
ชื่อพ้อง Trigonostemon heterophyllus Merr.
ไม้พุ่ม สูง 1-2 ม. มีขนยาวสีน�้าตาลหนาแน่นตามกิ่ง แผ่นใบทั้งสองด้าน ก้านใบ
ช่อดอก ใบประดับ ก้านดอก กลีบเลี้ยงด้านนอก รังไข่ และผล ใบรูปใบหอกกลับ
ยาว 10-35 ซม. โคนเรียวสอบ ปลายเว้าตื้น ขอบเรียบหรือจักฟันเลื่อย ก้านใบยาว
3-6 มม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ยาว 1-2.5 ซม. ใบประดับรูปใบหอก ยาว 1-2 ซม.
ติดทน ดอกสีแดงเลือดนก จานฐานดอกเป็นต่อม 5 ต่อม ดอกเพศผู้ก้านดอกสั้น
กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน ยาว 1.5-2.5 มม. กลีบดอกรูปไข่กลับ ยาว 4-4.5 มม.
แลนบาน: หูใบจักซี่หวี ใบประกอบ ขอบใบเรียบหรือจักไม่ชัดเจน ช่อดอกเพศผู้ กลีบดอก 3 กลีบ ผลเกลี้ยง สุกสีด�า เกสรเพศผู้ 3 อัน ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ มีก้านสั้น ๆ หรือติดบนปลายช่อดอก
(ภาพ: ชุมพร - RP)
ที่ยาวได้ถึง 6 ซม. กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาวประมาณ 5 มม. ขยายในผล กลีบดอก
โลดทะนง, สกุล รูปไข่กลับ ยาว 4.5-5 มม. ผลเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 6 มม.
Trigonostemon Blume พบที่ไห่หนาน พม่า และลาว ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนบน
วงศ์ Euphorbiaceae ที่บึงกาฬ และภาคใต้ที่ชุมพร ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูง 100-400 เมตร
ไม้พุ่มหรือไม้ต้นขนาดเล็ก แยกเพศร่วมต้น หูใบขนาดเล็ก ร่วงเร็ว ใบเรียงเวียน โลดทะนงเหลือง
ส่วนมากเรียงหนาแน่นช่วงปลายกิ่ง ส่วนใหญ่มีเส้นโคนใบข้างละ 1 เส้น ช่อดอก
คล้ายช่อกระจะ แบบช่อเชิงลด หรือช่อแยกแขนง กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวน Trigonostemon thyrsoideus Stapf
อย่างละ 5 กลีบ กลีบเลี้ยงเรียงซ้อนเหลื่อม ยาวไม่เท่ากัน ติดทน บางครั้งขยายในผล ไม้พุ่ม อาจสูงได้ถึง 6 ม. กิ่งอ่อนมีขนประปราย กิ่งแก่มีช่องอากาศประปราย
เกสรเพศผู้ 3 หรือ 5 อัน เชื่อมติดกันเป็นเส้าเกสรสั้น ๆ รังไข่มี 3 ช่อง แต่ละช่อง ใบรูปรีถึงรูปใบหอก ยาว 10-32 ซม. ปลายแหลม โคนมนหรือกลม ขอบจักมน
มีออวุลเม็ดเดียว ไม่มีที่เป็นหมันในดอกเพศผู้ ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน สั้นมาก ก้านใบยาว 2.5-14 ซม. ปลายก้านมีต่อม 2 ต่อม ดอกสีเหลือง จานฐานดอก
ผลแห้งแตก จัก 3 พู เมล็ดกลมหรือแกมรูปสามเหลี่ยม เป็นต่อม 5 ต่อม ช่อดอกแบบช่อกระจุกแยกแขนง ออกที่ปลายกิ่ง ยาวได้ถึง 20 ซม.
แกนช่อเป็นเหลี่ยม มีขนละเอียด ดอกเพศผู้ ก้านดอกยาว 2-5 มม. กลีบเลี้ยงรูปไข่
สกุล Trigonostemon อยู่ภายใต้วงศ์ย่อย Crotonoideae เผ่า Trigonostemoneae ยาวประมาณ 1.5 มม. ด้านนอกมีขน กลีบดอกรูปรี ยาว 3-3.5 มม. เกสรเพศผู้
มีประมาณ 95 ชนิด พบในเอเชียเขตร้อน ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก 5 อัน ดอกเพศเมียคล้ายดอกเพศผู้ ขนาดใหญ่กว่าเล็กน้อย ก้านดอกยาว 3.5-4 มม.
ส่วนมากพบในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ในไทยมี 14 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษา ขยายในผลยาว 2.5-4.2 ซม. ใบประดับขนาดเล็ก รังไข่เกลี้ยง ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง
กรีก “trigonos” สามมุม และ “stemon” เกสรเพศผู้ ตามจำานวนเกสรเพศผู้ที่ ประมาณ 1.5 ซม. ผิวมีตุ่มคล้ายหนาม
ส่วนมากมี 3 อัน พบที่จีนตอนใต้ พม่า ลาว และเวียดนาม ในไทยพบทางภาคเหนือ ขึ้นตาม
ป่าดิบแล้งริมล�าธารหรือป่าสนเขา ความสูง 350-1500 เมตร
โลดทะนง
Trigonostemon reidioides (Kurz) Craib เอกสารอ้างอิง
Chantaranothai, P. (2007). Euphorbiaceae (Trigonostemon). In Flora of Thailand
ชื่อพ้อง Baliospermum reidioides Kurz Vol. 8(2): 573-585.
Li, B. and M.G. Gilbert. (2008). Euphorbiaceae (Trigonostemon). In Flora of
ไม้พุ่ม สูงได้ถึง 2 ม. รากอวบหนา มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง แผ่นใบทั้งสองด้าน China Vol. 11: 272-274.
ก้านใบ ช่อดอก ก้านดอก กลีบเลี้ยงด้านนอก รังไข่ และผล ใบรูปขอบขนานหรือ
รูปใบหอก ยาว 5.5-12 ซม. โคนมน ขอบเป็นต่อมคล้ายจักฟันเลื่อย ก้านใบยาว
0.8-2 ซม. ช่อดอกแบบช่อกระจะ ยาว 9-14 ซม. ดอกสีแดงเลือดนก จานฐานดอก
รูปวงแหวน ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว 1-2 มม. กลีบเลี้ยงรูปไข่กลับ ยาว 2-3 มม.
กลีบดอกรูปขอบขนานแกมรูปไข่กลับ ยาว 4-5 มม. เกสรเพศผู้ 3 อัน ดอกเพศเมีย
ก้านดอกยาว 0.8-1.5 ซม. ขยายในผลยาว 1.5-3.5 ซม. กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน
ยาว 2-5 มม. กลีบดอกรูปไข่กลับ ยาว 4-5 มม. ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 1-1.5 ซม.
พบที่ภูมิภาคอินโดจีน ในไทยพบแทบทุกภาคยกเว้นภาคใต้ ขึ้นตามป่าเต็งรัง
ป่าเบญจพรรณ ป่าดิบแล้ง หรือที่โล่งแห้งแล้ง ความสูงถึงประมาณ 1100 เมตร
รากมีฤทธิ์ท�าให้อาเจียนส�าหรับบรรเทาอาการโรคหืด
โลดทะนง: ดอกสีแดงเลือดนก จานฐานดอกรูปวงแหวน ก้านเกสรเพศเมีย 3 อัน รังไข่และผลมีขนสั้นนุ่ม ผลจัก 3 พู
กลีบเลี้ยงติดทน (ภาพดอก: นครพนม - PK; ภาพผล: หนองคาย - RP)
โลดทะนงเขา
Trigonostemon laevigatus Müll. Arg.
ไม้พุ่ม อาจสูงได้ถึง 5 ม. กิ่งอ่อนมีขนประปราย กิ่งแก่มีช่องอากาศ ใบรูปขอบขนาน
รูปใบหอก หรือแกมรูปไข่กลับ ยาว 8.5-24 ซม. ปลายแหลมยาว โคนมนหรือเรียวสอบ
เป็นก้านใบ ขอบเรียบ ก้านใบยาว 0.3-1.5 ซม. ดอกสีเหลือง โคนมีปื้นสีแดง
จานฐานดอกรูปวงแหวน ดอกเพศผู้ออกเป็นกระจุกตามกิ่ง ก้านดอกยาว 2-3 มม.
กลีบเลี้ยงรูปไข่ ยาว 1.3-1.5 มม. กลีบดอกรูปไข่ ยาวประมาณ 3 มม. เกสรเพศผู้
3 อัน ดอกเพศเมียออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นช่อกระจะ ยาว 4-4.5 ซม. ใบประดับคล้ายใบ
ก้านดอกยาว 1.5-2 ซม. กลีบเลี้ยงรูปขอบขนาน ยาวประมาณ 1.5 มม. กลีบดอกรูปรี
โลดทะนงเขา: ดอกเพศผู้ออกเป็นกระจุกตามกิ่ง ดอกสีเหลือง โคนมีปื้นสีแดง ดอกเพศเมียออกเป็นช่อกระจะ ใบประดับ
ยาว 1.5-2 มม. ผลเส้นผ่านศูนย์กลาง 6-7 มม. คล้ายใบ (ภาพ: เขาสก สุราษฎร์ธานี - PK)
385
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 385 3/1/16 6:15 PM