Page 400 - สารานุกรมพืช ในประเทศไทย (ฉบับย่อ) เฉลิมพระเกียรติสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดาฯ E-BOOK โดย พระครูโสภณวีรานุวัตร, ดร. วัดป่า สุพรรณบุรี.
P. 400
ล�าบิดดง
ลำาบิดดง สารานุกรมพืชในประเทศไทย พบที่อินเดีย เวียดนาม คาบสมุทรมลายู และสุมาตรา ในไทยพบทางภาคกลาง
Diospyros filipendula Pierre ex Lecomte ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ ขึ้นตามป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้นใกล้ชายฝั่งทะเล
วงศ์ Ebenaceae ความสูงถึงประมาณ 800 เมตร
ไม้ต้น สูงได้ถึง 12 ม. มีขนสั้นนุ่มตามกิ่ง แผ่นใบทั้งสองด้าน ก้านใบ ก้านดอก เอกสารอ้างอิง
กลีบเลี้ยงและกลีบดอกด้านนอก ใบรูปรีหรือรูปไข่ ยาว 4-6 ซม. ปลายแหลม Phengklai, C. (2001). Sterculiaceae. In Flora of Thailand Vol. 7(3): 599-615.
Tang, Y., M.G. Gilbert and L.J. Dorr. (2007). Sterculiaceae. In Flora of China
หรือมน โคนมน กลม หรือเว้าตื้น ก้านใบยาว 1-3 มม. กลีบเลี้ยงและกลีบดอก Vol. 12: 327.
จ�านวนอย่างละ 4 กลีบ ดอกเพศผู้ก้านดอกยาว 1-2 ซม. กลีบเลี้ยงรูประฆัง ยาว
2-4 มม. แฉกลึกประมาณกึ่งหนึ่ง ดอกรูปดอกเข็ม ยาว 1.2-1.6 ซม. กลีบดอกแฉกลึก
ประมาณกึ่งหนึ่ง ด้านนอกมีขนสั้นนุ่ม เกสรเพศผู้มี 12-16 อัน รังไข่ที่ไม่เจริญเกลี้ยง
ดอกเพศเมียก้านดอกยาว 2-4 ซม. รังไข่มีขนยาวที่โคน มี 4 ช่อง แต่ละช่องมีออวุล
1 เม็ด ไม่มีเกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน ผลรูปรีกว้างเกือบกลม ยาว 2-2.5 ซม. กลีบเลี้ยง
แฉกลึกเกือบจรดโคน ไม่พับงอกลับ ก้านผลยาว 2-4 ซม. เอนโดสเปิร์มเรียบ
(ดูข้อมูลเพิ่มเติมที่ มะเกลือ, สกุล)
พบที่กัมพูชา เวียดนาม และคาบสมุทรมลายู ในไทยพบกระจายห่าง ๆ ทาง
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออก ภาคตะวันออกเฉียงใต้ และภาคใต้ตอนบน
ขึ้นตามสันเขาในป่าดิบแล้ง และป่าดิบชื้น ความสูง 50-400 เมตร
เอกสารอ้างอิง
Phengklai, C. (1981). Ebenaceae. In Flora of Thailand Vol. 2(4): 367-369.
ล�าป้าง: แผ่นใบด้านล่างมีเกล็ดขุยหนาแน่น ผลรูปขอบขนาน มี 5 สัน (ภาพ: ประจวบคีรีขันธ์ - RP)
ลำาพู, สกุล
Sonneratia L. f.
วงศ์ Lythraceae
ไม้ต้น ไม่มีพูพอน รากหายใจรูปกรวยแหลม รอบโคนต้น ใบเรียงตรงข้าม
ขอบเรียบ แผ่นใบหนา ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นกระจุก 2-5 ดอก บานตอน
กลางคืน กลีบเลี้ยงหนา มี 4-8 กลีบ ติดทน หลอดกลีบเลี้ยงรูปถ้วยตื้น ๆ กลีบดอก
มีจ�านวนเท่ากับกลีบเลี้ยง ร่วงเร็ว หรือไม่มีกลีบดอก เกสรเพศผู้จ�านวนมาก อับเรณู
ล�าบิดดง: ใบเรียงสลับระนาบเดียว มีขนสั้นนุ่มทั่วไป ดอกรูปดอกเข็ม ก้านดอกยาว ผลรูปรีกว้างเกือบกลม กลีบเลี้ยง
แฉกลึกเกือบจรดโคน ดอกหนาแน่น (ภาพ: นครพนม; ภาพดอก - AS, ภาพผล - PK) รูปคล้ายไต รังไข่มี 10-20 ช่อง ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยาวกว่าเกสรเพศผู้
ยอดเกสรรูปโล่ ติดทน ผลคล้ายผลสดมีหลายเมล็ด กลมแป้น ผนังหนา เหนียว
ลำาป้าง, สกุล ฐานรูปถ้วยส่วนมากหุ้มผลที่โคน เมล็ดเป็นเหลี่ยม
Pterospermum Schreb.
วงศ์ Malvaceae สกุล Sonneratia เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Sonneratiaceae มีประมาณ 7 ชนิด พบใน
แอฟริกา เอเชีย ออสเตรเลียตอนบน และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยมี 4 ชนิด
ไม้ต้น มีขนกระจุกรูปดาวหรือเกล็ดขุยกระจาย ใบเรียงเวียน หูใบเรียบหรือจัก ชื่อสกุลตั้งตามนักพฤกษศาสตร์ชาวฝรั่งเศส Pierre Sonnerat (1748-1814)
ชายครุย ร่วงเร็ว ช่อดอกแบบช่อกระจุกสั้น ๆ ตามซอกใบ มี 1-5 ดอก ริ้วประดับเรียบ
หรือจักชายครุย ส่วนมากมี 3 อัน ร่วงเร็ว กลีบเลี้ยงหนา มี 5 กลีบ แฉกลึก ลำาพู
หรือแยกจรดโคน พับงอกลับ กลีบดอก 5 กลีบ สีขาวหรือครีม เกสรเพศผู้มี Sonneratia caseolaris (L.) Engl.
ประมาณ 15 อัน กลุ่มละ 3 อัน ติดระหว่างเกสรเพศผู้ที่เป็นหมันรูปเส้นด้าย
หนาและยาวกว่าเกสรเพศผู้ ก้านชูอับเรณูเชื่อมติดกันเป็นหลอด ปลายแยกกัน ชื่อพ้อง Rhizophora caseolaris L.
รังไข่มี 5 ช่อง ออวุลจ�านวนมาก ก้านเกสรเพศเมียเรียวยาว ยอดเกสรจักเป็น 5 สัน ไม้ต้น สูงได้ถึง 20 ม. รากหายใจยาว 0.5-1 ม. โคนหนา ใบรูปไข่ รูปรี รูปขอบขนาน
ผลแห้งแยกเป็น 5 ซีก เรียบหรือมี 5 สัน ผนังหนา ปลายเมล็ดมีปีกบาง แกมรูปไข่หรือรูปไข่กลับ ยาว 6-10 ซม. ปลายมนหรือเป็นติ่งแหลมสั้น ๆ โคนรูปลิ่ม
เส้นกลางใบมักมีสีแดง ก้านใบยาว 2-6 มม. ดอกออกเดี่ยว ๆ หรือเป็นคู่ที่ปลายกิ่ง
สกุล Pterospermum เดิมอยู่ภายใต้วงศ์ Sterculiaceae ปัจจุบันอยู่ภายใต้วงศ์ย่อย กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ 5-7 กลีบ กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม ยาว
Bombacoideae มีประมาณ 40 ชนิด ส่วนใหญ่พบในเอเชียเขตร้อน ในไทยมี 1.5-2 ซม. ดอกสีแดงเข้ม กลีบรูปแถบ บาง กว้าง 1-2 มม. ยาว 1.5-2.5 ซม.
9-10 ชนิด ชื่อสกุลมาจากภาษากรีก “pteron” ปีก และ “sperma” เมล็ด หมาย ก้านชูอับเรณูสีแดงหรือสีขาวโคนสีแดง ผลกว้าง 4-6 ซม. สูง 2.5-3.5 ซม. ผิว
ถึงเมล็ดมีปีก เป็นมันวาว ฐานรูปถ้วยแผ่กว้าง เส้นผ่านศูนย์กลาง 4.5-6.3 ซม. รวมกลีบเลี้ยง
พบที่อินเดีย ศรีลังกา พม่า ไห่หนาน กัมพูชา เวียดนาม ภูมิภาคมาเลเซีย นิวกินี
ลำาป้าง ออสเตรเลีย และหมู่เกาะแปซิฟิก ในไทยพบทางภาคตะวันออกเฉียงใต้ ภาคกลาง
Pterospermum diversifolium Blume และภาคใต้ ขึ้นตามป่าชายเลน ริมแม่น�้าที่น�้าทะเลขึ้นลง เปลือกและผลมีสรรพคุณ
ไม้ต้น สูงได้ถึง 30 ม. มีขนสั้นนุ่ม ขนกระจุกรูปดาว หรือเกล็ดขุยหนาแน่น ต้านอนุมูลอิสระ แก้ไข้ แก้ท้องเสีย ฆ่าพยาธิ
ตามกิ่ง แผ่นใบด้านล่าง กลีบเลี้ยงทั้งสองด้าน กลีบดอกด้านนอก รังไข่ และโคน
ก้านเกสรเพศเมีย ใบรูปรี รูปขอบขนาน หรือแกมรูปไข่ ปลายแหลม โคนรูปลิ่มกว้าง ลำาพูทะเล
มน หรือเว้าตื้น ๆ ริ้วประดับ 3 ใบ รูปใบหอก กลีบเลี้ยงรูปใบหอก ยาว 8-17 ซม. Sonneratia ovata Backer
แฉกลึก พับงอกลับ ดอกสีขาว กลีบรูปใบหอกกลับ ยาวเท่า ๆ กลีบเลี้ยง เกสรเพศผู้ ไม้ต้น สูง 5-15 ม. รากหายใจยาว 15-25 ซม. ใบรูปไข่กว้างถึงเกือบกลม ยาว
ยาว 4-6 ซม. เกสรเพศผู้ที่เป็นหมัน 5 อัน ยาว 4-8 ซม. มีต่อมโปร่งใสกระจาย 4-7 ซม. ปลายกลม โคนตัดหรือกลม ก้านใบยาว 0.4-1 ซม. ดอกออกเดี่ยว ๆ
ก้านเกสรเพศเมียยาว 3-4 ซม. ยอดเกสรบิดเกลียว ผลรูปขอบขนาน มี 5 สัน หรือเป็นกระจุก 2-3 ดอก ออกที่ปลายกิ่ง กลีบเลี้ยงและกลีบดอกจ�านวนอย่างละ
ยาว 7-20 ซม. เมล็ดยาว 2-5 ซม. รวมปีกบาง ๆ 6 กลีบ กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม ปลายมนหรือแหลม ยาว 1.2-1.7 ซม. มีตุ่มเล็ก ๆ
380
59-02-089_293-398_Ency new1-3_J-Coated.indd 380 3/1/16 6:14 PM